งานบริการโปรแกรมระบบเงินเดือนสำเร็จรูป : HRM (Payroll)

เรียกรายงานสิ้นปี
เรียกรายงานสิ้นปี

เมื่อวาระสิ้นปีมาถึง งานบุคคลควรต้องทำอะไรเป็นพิเศษบ้างหรือไม่ อย่าลืมเช็คงานสิ้นปีกันนะคะ มาดูกันว่ารายงานสิ้นปีที่ต้องเช็คมีอะไรกันบ้าง

แจ้งการยื่นแบบ Online ส่งสรรพากร
แจ้งการยื่นแบบ Online ส่งสรรพากร

เนื่องด้วยระบบ E-FILING ของทางสรรพากร เพื่อใช้สำหรับใช้ยื่นแบบ Online โดยในปัจจุบันจะรองรับการยื่นแบบ สำหรับภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ดังนี้ ภงด.1, ภงด.2, ภงด.3, ภงด.91 และ ภงด.94

การแก้ไขกรณีรายงาน ภงด1 ไม่ตรงกับ ภงด1ก
การแก้ไขกรณีรายงาน ภงด1 ไม่ตรงกับ ภงด1ก

กรณีรายงาน ภงด1 ไม่ตรงกับ ภงด1ก สามารถทำการตรวจสอบข้อมูล และแก้ไจข้อมูล ภงด 1 ก ให้ ตรงกับรายงาน ภงด 1 ในแต่ละเดือน

โค้งท้ายปีแล้ว มาทบทวนรายการลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2564 กันหน่อยดีไหม (?)
โค้งท้ายปีแล้ว มาทบทวนรายการลดหย่อนภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาปี 2564 กันหน่อยดีไหม (?)

สำหรับหลักการในการลดหย่อนภาษีคือ การนำค่าใช้จ่าย หรือภาระที่มีมาใช้ลดหย่อนภาษีเงินได้ ซึ่งรายการค่าลดหย่อนที่เกี่ยวข้อง จะมีดังนี้

หากต้องการ Fix ภาษีในงวดสุดท้ายของปี
หากต้องการ Fix ภาษีในงวดสุดท้ายของปี

การกำหนด "ภาษีในงวดสุดท้าย" ในแฟ้มประวัติพนักงาน ทำได้ดังนี้ครับ

1 คน 1 สิทธิ์ เลือกได้โครงการเดียว! ระหว่าง คนละครึ่ง vs ช้อปดีมีคืน
1 คน 1 สิทธิ์ เลือกได้โครงการเดียว! ระหว่าง คนละครึ่ง vs ช้อปดีมีคืน

ใครเหมาะกับโครงการไหน? โครงการไหนคุ้มค่ามากกว่า? หรือมีข้อสงสัยเพิ่มเติม ร่วมไขข้อข้องใจไปกับโพสต์นี้ได้เลย

TM : คู่มือ Start Service Auto TM กรณีที่หยุดทำงาน
TM : คู่มือ Start Service Auto TM กรณีที่หยุดทำงาน

คู่มือ Start Service Auto TM กรณีที่หยุดทำงาน

ขั้นตอนแนะนำการนำเข้าเวลาจาก HRM Connect กรณีที่พบว่าข้อมูลเวลาบางวันหายไป
ขั้นตอนแนะนำการนำเข้าเวลาจาก HRM Connect กรณีที่พบว่าข้อมูลเวลาบางวันหายไป

กรณีที่พนักงานมีการ Check in ผ่านทางมือถือแล้ว แต่พบว่าเวลาในการ Check in ของพนักงานหายไป หรือ การ Check in นอกสำนักงาน แต่ยังอนุมัติไม่ครบ ทำให้ไม่สามารถโอนเวลาเข้ามาในโปรแกรมได้ ดังนั้น จึงขอแนะนำขั้นตอนเพื่อให้ท่านสามารถดึงเวลาการ Check in จาก HRM Connect เข้าสู่ระบบงานบันทึกเวลาได้ เพื่อให้ท่านนำเวลาทำงานของพนักงานในแต่ละวันมาคำนวณ ขาด ลา มาสาย และ OT ได้อย่างถูกต้อง

ลงทะเบียนโปรแกรม
ลงทะเบียนโปรแกรม

ลงทะเบียนโปรแกรม

เนื่องด้วยสำนักงานประกันสังคม ได้มีประกาศปรับลดอัตราเงินสมทบประกันสังคมทั้ง นายจ้าง และ ลูกจ้าง
เนื่องด้วยสำนักงานประกันสังคม ได้มีประกาศปรับลดอัตราเงินสมทบประกันสังคมทั้ง นายจ้าง และ ลูกจ้าง

เนื่องด้วยสำนักงานประกันสังคม ได้มีประกาศปรับลดอัตราเงินสมทบประกันสังคมทั้ง นายจ้าง และ ลูกจ้าง จากเดิม 5% เป็น 1% โดยมีผลในเดือน พฤษภาคม 2565 ถึง เดือน กรกฎาคม 2565

จดหมายแจ้งการบริการลูกค้ารุ่นโปรแกรมที่ขาดการปรับรุ่น
จดหมายแจ้งการบริการลูกค้ารุ่นโปรแกรมที่ขาดการปรับรุ่น

บริษัท บิซิเนส แอนด์ เทคโนโลยี่ จำกัด และ บริษัท อี-บิซิเนส พลัส จำกัด จำเป็นที่ต้องเรียนว่า จากข้อมูลการใช้งานโปรแกรมของลูกค้า ตามที่บริษัทฯ ได้รวบรวมไว้ พบว่ากรณีลูกค้าใช้งานโปรแกรมรุ่นเก่า ที่ขาดการปรับเวอร์ชั่นให้ทันสมัยเกิน 2 ปี มักจะพบปัญหาตามที่แจ้งไว่ จึงขอเรียนแนะนำให้ท่านดำเนินการปรับรุ่นโปรแกรมให้ทันสมัยเป็นรุ่นปัจจุบัน ณ วันที่ประกาศจำหน่ายใน เดือน 01/2563 โดยมีรุ่นของโปรแกรม

การสำเนาข้อมูล

การสำเนาข้อมูล

วิธีการปรับแต่งรายงาน

วิธีการปรับแต่งรายงาน

การบันทึกลาออก

การบันทึกลาออก

การจ่ายเงินเกษียณอายุ หรือ ชดเชยออกจากงาน

การจ่ายเงินเกษียณอายุ หรือ ชดเชยออกจากงาน

การบันทึกเงินได้เงินหักอื่นๆ

การบันทึกเงินได้เงินหักอื่นๆ

การนำสำเนาข้อมูลกลับมาใช้งาน

การนำสำเนาข้อมูลกลับมาใช้งาน

การบันทึกเงินได้เงินหักประจำจากไฟล์ Excel

การบันทึกเงินได้เงินหักประจำจากไฟล์ Excel

วิธีคำนวณประกันสังคม และรายงานประกันสังคม

วิธีคำนวณประกันสังคม และรายงานประกันสังคม

การเลือกขนาดกระดาษใบจ่ายเงินเดือน ก่อนพิมพ์

การเลือกขนาดกระดาษใบจ่ายเงินเดือน ก่อนพิมพ์

คู่มือการตรวจสอบภาษี

คู่มือการตรวจสอบภาษี

การคำนวณเงินเดือนพนักงานลาออก

การคำนวณเงินเดือนพนักงานลาออก

การปรับประเภทการจ้างพนักงาน รายวัน เป็น รายเดือน ระหว่างงวดเงินเดือน

แนะนำวิธีการปรับประเภทการจ้างพนักงาน รายวัน เป็น รายเดือน ระหว่างงวดเงินเดือน

วิธีการนำ Logo บริษัท แสดงในรายงาน 50 ทวิ

การนำรูป Logo ไปวางไว้ในรายงาน 50ทวิ

การบันทึกพักงาน

การบันทึกพักงาน

การตั้งค่าประเภทเงินเพิ่มเงินหัก

การตั้งค่าประเภทเงินเพิ่มเงินหัก

การบันทึกกลับจากพักงาน

การบันทึกกลับจากพักงาน

การคำนวณเงินเดือนพนักงานรายเดือนเริ่มงานใหม่

การคำนวณเงินเดือนพนักงานรายเดือนเริ่มงานใหม่

กรณีพนักงานลาออกแล้วกลับเข้ามาทำงานใหม่

กรณีพนักงานลาออกแล้วกลับเข้ามาทำงานใหม่

การแก้ไขผลการคำนวณ

การแก้ไขผลการคำนวณ

การคำนวณกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

การคำนวณกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

การลดหย่อนภาษี

การลดหย่อนภาษี

จ่ายค่าแรง 75%

จ่ายค่าแรง 75%

การแก้ไขกรณีโปรแกรมไม่แสดงรูปสัญลักษณ์ของการคำนวณเงินเดือน

การแก้ไขกรณีโปรแกรมไม่แสดงรูปสัญลักษณ์ของการคำนวณเงินเดือน

การตั้งงวดเงินเดือน

การตั้งงวดเงินเดือน

การแก้ไขกรณีโปรแกรมไม่คำนวณเงินเดือนให้พนักงาน

การแก้ไขกรณีโปรแกรมไม่คำนวณเงินเดือนให้พนักงาน

การบันทึกจำนวนวันทำงานพนักงานรายวัน

การบันทึกจำนวนวันทำงานพนักงานรายวัน

การบันทึกประวัติพนักงาน

การบันทึกประวัติพนักงาน

การคำนวณเงินเดือน

การคำนวณเงินเดือน

การแก้ไขกรณีลืมปิดงวดเงินเดือนในระหว่างปี

การแก้ไขกรณีลืมปิดงวดเงินเดือนในระหว่างปี

การกำหนดข้อมูลเบื้องต้นของกิจการ

การกำหนดข้อมูลเบื้องต้นของกิจการ

VDO การตรวจสอบภาษี

VDO การตรวจสอบภาษี

รายงานที่ใช้ตรวจสอบผลการคำนวณ

รายงานที่ใช้ตรวจสอบผลการคำนวณ

สาเหตุที่เงินเพิ่มเงินหักที่สร้างเพิ่ม ไม่แสดงข้อมูลในรายงาน

สาเหตุที่เงินเพิ่มเงินหักที่สร้างเพิ่ม ไม่แสดงข้อมูลในรายงาน

รายงานที่พิมพ์หลังการปิดงวดเงินเดือน

รายงานที่พิมพ์หลังการปิดงวดเงินเดือน

เกษียณอายุ

Q: กรณีที่พนักงานเกษียณอายุ แต่ยังเป็นพนักงานบริษัทจะต้องยื่น เอกสาร ภงด.1 โปรแกรมรองรับหรือไม่

รอบการจ่ายเงินเดือน/งวดเงินเดือน

Q:การจ่ายเงินเดือนของพนักงานรายเดือนและรายวันที่มีรอบการจ่ายไม่เหมือนกัน แต่จ่ายวันที่เดียวกันระบบรองรับหรือไม่

การตัดรอบการจ่ายเงินเดือน และวันที่จ่าย

Q:บริษัท มีการตัดรอบการจ่ายเงินเดือน และวันที่จ่ายเงินเดือนของพนักงานในแต่ละกลุ่มพนักงานไม่ตรงกัน โปรแกรมรองรับหรือไม่

ประวัติพนักงาน

Q:โปรแกรมมีเครื่องมือช่วยบันทึกประวัติพนักงานเข้าโปรแกรมแทนการบันทึกทีละคน เพื่อการเริ่มต้นระบบที่รวดเร็วขึ้นได้หรือไม่

การจ่ายเงินเลิกจ้างและเงินเกษียณอายุของพนักงาน

Q: บริษัท ต้องการจ่ายเงินเลิกจ้างและเงินเกษียณอายุของพนักงานพร้อมเงินเดือน แต่ต้องการจ่ายแยกกับงวดเงินเดือนของพนักงานท่านอื่น โปรแกรมสามารถรองรับการทำงานไหม

จ่ายค่าคอมมิชชั่น โดยไม่จ่ายพร้อมเงินเดือน

Q: บริษัท ต้องการจ่ายค่าคอมมิชชั่น โดยไม่จ่ายพร้อมเงินเดือน โปรแกรมรองรับหรือไม่

คำนวณเงินเดือนพนักงานsub-contact

Q : ระบบสามารถคำนวณเงินเดือนให้กับพนักงานที่เป็นกลุ่มsub-contact ได้หรือไม่ ซึ่งกลุ่มsub-contact นี้ทางบริษัทจะให้พนักงานเหล่านั้นยื่นภาษี-ประกันสังคมเอง

พนักงานเกษียณอายุยังทำงานต่อ บริษัทจะไม่หักเงินสมทบ ประกันสังคม

Q: กรณีมีพนักงานเกษียณอายุ และยังทำงานต่อกับบริษัท บริษัทจะไม่หักและนำส่งประกันสังคมให้พนักงานท่านนั้นแล้ว ระบบรองรับหรือไม่

ขาดงาน

Q: กรณีพนักงานขาดงาน โดยไม่แจ้งล่วงหน้า จะสามารถหักแบบเหมาได้ไหม

เงินเบี้ยเลี้ยง

Q : พนักงานที่ไปดูงานต่างประเทศจะได้รับเบี้ยเลี้ยงเพิ่มเติม ระบบรองรับหรือไม่

ค่าอาหาร

Q: บริษัทมีการจ่ายค่าอาหาร ในงวดพิเศษ โดยคำนวณหักจากการขาดลามาสายในงวดเงินเดือนประกอบด้วย ระบบรองรับหรือไม่

รองรับการ Export file

Q: โปรแกรม รองรับการ Export file จากโปรแกรมออกไประบบอื่น หรือไม่

รองรับการ Export file

Q: หากต้องการข้อมูลออกไปยัง EXCEL เช่น พฤติกรรมพนักงาน เพื่อไปคำนวณคะแนนอื่น ๆ เพิ่มเติมได้หรือไม่

สำเนาเอกสารอิเล็คทรอนิกส์

Q: ต้องการลดการเก็บสำเนาเอกสารของพนักงาน เช่น สำเนาทำเบียนบ้าน ประวัติการตรวจสุขภาพ ระบบสามารถช่วยได้อย่างไร

ประกันสังคม

Q:กรณีการจ่ายเงินเดือน 2 ครั้ง แต่ต้องการให้การคำนวณประกันสังคมในงวดที่ 2 โปรแกรมสามารถรองรับได้หรือไม่

งวดการจ่ายค่าจ้างของพนักงาน

Q:บริษัท มีงวดการจ่ายค่าจ้างของพนักงานรายเดือน รายวัน รายเหมา ที่ไม่ตรงกัน โปรแกรมรองรับหรือไม่

ค่าล่วงเวลา(OT)

Q:ค่าล่วงเวลา(OT) ที่บริษัทให้เป็นยอดเงิน แทนการคำนวณตามอัตราคูณชั่วโมง สามารถทำได้หรือไม่

ฐานค่าแรงที่ใช้ในการคำนวณค่าล่วงเวลา(OT)

Q:ค่าล่วงเวลา(OT) ฐานค่าแรงที่ใช้ในการคำนวณ สามารถนำจำนวนเงินของเงินได้อื่น ๆ เพื่อเข้าฐานในการคำนวณค่าล่วงเวลาสูงขึ้น เพื่อเป็นสวัสดิการพิเศษกับพนักงานที่ทำล่วงเวลา เช่น ฐานในการคำนวณล่วงเวลา คือ ค่าแรง+ค่าอาหาร เป็นต้น ระบบสามารถรองรับหรือไม่

สิทธิการลาก่อนใช้โปรแกรม

Q:กรณีต้องการนำยอดยกมาของสิทธิการลาของพนักงานก่อนใช้โปรแกรมทำได้หรือไม่

การจ่ายเงินเดือนตามชิ้นงาน

Q:โปรแกรมรองรับการจ่ายเงินเดือนตามชิ้นงานได้หรือไม่

ผังองค์กร และ การรายงานวิเคราะห์

Q : โปรแกรมรองรับบริษัทที่มีแผนกเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ หรือไม่

ค่าล่วงเวลา(OT)

Q:ในช่วงโควิด19 ตามที่รัฐบาลสนับสนุนการจ้างงานเด็กจบใหม่ บริษัท มีการจ่ายเงินเดือน โดยครึ่งหนึ่งเป็นทางรัฐบาลจ่ายให้ หากพนักงานมี OT บริษัทคำนวณจากฐานเงินเดือนโปรแกรมสามารถช่วยได้หรือไม่

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

Q:บริษัทมีสวัสดิการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้พนักงานโดยให้พนักงานเลือกเปอร์เซ็นต์ “เงินสะสม” ได้เอง เช่น อัตราปกติหัก 3% แต่พนักงานบางท่านต้องการให้หัก 5%โปรแกรมรองรับหรือไม่

ลดงานการบันทึกข้อมูลเงินเพิ่ม-เงินหัก

Q : กรณีมีไซต์งาน SHOP หรือ หน้าร้านจำนวนมาก จะลดงานบันทึกข้อมูลเงินเพิ่ม-เงินหัก อย่างไร

ผังองค์กร และ การรายงานวิเคราะห์

Q:ผังองค์กรของกิจการมีสาขา/แผนก/ไซต์ จำนวนมาก ระบบสามารถสรุปงานบุคคลแยกสาขา แผนก ไซต์ ได้หรือไม่ เช่น สรุปการจ่ายเงินเดือนแยกสาขา

ค่าล่วงเวลา(OT)

Q:ค่าล่วงเวลา(OT)ประเภทเดียวแต่มีอัตราการคำนวณ 2 ระดับ คือ ถ้าในงวดสะสมชั่วโมงได้ครบตามจำนวนที่กำหนด ค่าล่วงเวลา(OT)ส่วนชั่วโมงที่เกินที่กำหนดจะให้อัตราค่าล่วงเวลาในอัตราใหม่ เช่น OTx1.5 ถ้าทำ OT จำนวนชั่วโมงสะสมไม่เกิน 20 ชั่วโมงจะได้ 1.5 เท่า ส่วนที่เกิน 20 ชั่วโมง จะเปลี่ยนเป็น 40 บาทต่อชั่วโมงที่ทำเกิน ได้หรือไม่

การใช้โปรแกรมระหว่างปี

Q:กรณีถ้าต้องการใช้โปรแกรมระหว่างปี เนื่องจากมีการจ่ายเงินเดือนไปแล้วส่วนหนึ่ง มีการขอลาและอนุมัติลาไปแล้ว โปรแกรมรองรับข้อมูลที่เกิดก่อนใช้ระบบเพื่อนำมาคำนวณต่อกับการใช้ระบบได้หรือไม่

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ

Q:บริษัทมีสวัสดิการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพให้พนักงานโดยบริษัทหัก “เงินสะสม” จ่าย “เงินสมทบ” ตามอายุงานเช่น อายุงาน 1 ปี เงินสะสม 3 % บริษัทสมทบ 3 % ถ้าอายุงานมากกว่า 1-3 ปี เงินสะสม 3% บริษัทสมทบ 6% เป็นต้น โปรแกรมรองรับหรือไม่

ภาษี-ประกันสังคมของพนักงานต่างด้าว

Q : Business Plus รองรับการคิดภาษี-ประกันสังคมของพนักงานต่างด้าวหรือไม่ เนื่องจากที่ไซต์งานมีพนักงานประเทศเพื่อนบ้านจำนวนมาก

ฐานค่าแรงที่ใช้ในการคำนวณค่าล่วงเวลา(OT)

Q:บริษัทมีฐานในการคำนวณ OT แยกจากอัตราเงินเดือน ต้องการกำหนดค่าของฐานเพื่อคำนวณค่าแรงจาก OT ต่างหากจากฐานเงินเดือนสามารถทำได้หรือไม่

จ่ายค่าล่วงเวลาไม่พร้อมกับการจ่ายเงินเดือน

Q: บริษัท ต้องการจ่ายค่าล่วงเวลา และเงินได้พิเศษ โดยไม่พร้อมกับงวดจ่ายเงินเดือน โปรแกรมสามารถรองรับได้หรือไม่

เงินเพิ่ม-เงินหักต่างๆ

Q:กรณีที่บริษัทมีเงื่อนไขการจ่ายเงินเพิ่ม เงินหักต่างๆ แต่ละสาขาหรือแต่ละแผนกแยกต่างกัน สามารถกำหนดในโปรแกรมได้ไหม

สำเนาเอกสารอิเล็คทรอนิกส์ สัญญาจ้าง ของพนักงาน

Q: กรณีต้องการเก็บเอกสารที่สำคัญของพนักงาน เช่น บัตรประจำตัวประชาชน สัญญาจ้าง ของพนักงาน สามารถจัดเก็บเข้าระบบได้หรือไม่

พนักงานผ่านทดลองงาน

Q: พนักงานผ่านทดลองงาน ระบบช่วยรายงานให้ HR ทราบล่วงหน้าได้หรือไม่ เพื่อการทำงานที่ไม่ผิดพลาด

ระเบียบแต่งกายของพนักงานขาย

Q : บริษัทมีกฏระเบียบการแต่งกายของพนักงานขาย ซึ่งถ้าพนักงานขายที่แต่งกายไม่เรียบร้อยจะถูกหักเงินค่าแรง โปรแกรมรองรับหรือไม่

พนักงานoffice กับพนักงานฝ่ายผลิตแยกงวดการจ่ายเงินเดือน

Q : บริษัทมีการแยกงวดการจ่ายเงินเดือนของ พนักงานoffice กับพนักงานฝ่ายผลิต คนละรอบกัน โปรแกรมจะสามารถกำหนดได้หรือไม่

เงินได้ค่าคอมมิชชั่น

Q : โปรแกรมรองรับการคำนวณค่าคอมมิชชั่นแบบจ่ายตามขั้นที่บริษัทกำหนดได้หรือไม่ เช่น ทำยอดขายได้ 10,000-50,000 บาท ได้ค่าคอมมิชชั่น 3% ทำยอดขายได้ 50,001 บาทขึ้นไปได้ค่าคอมมิชชั่น 5%

ค่าจ้างเหมาชิ้นงาน

Q : บริษัทจะมีพนักงานฝ่ายผลิตที่จ้างแบบเหมาชิ้นงาน ไม่มีเงินเดือน เช่น เหมาชิ้นงาน 100 ชิ้น ได้ค่าจ้างชิ้นละ 2.50 บาท ระบบจะรองรับหรือไม่

เงินพิเศษค่าชำนาญการ

Q : บริษัทมีเงินพิเศษค่าชำนาญการให้กับพนักงานรายวันเดือนละ 2 ครั้ง ครั้งละไม่เกิน 15 วัน โปรแกรมรองรับหรือไม่

เงินได้ค่าคอมมิชชั่น

Q : สำหรับพนักงานขายที่ทำยอดขายได้ถึงเป้าที่ทางบริษัทกำหนด พนักงานจะได้เงินพิเศษหรือ incentive เพิ่มอีก 1 เปอร์เซ็นต์ โปรแกรมจะสามารถคำนวณเงินพิเศษได้หรือไม่

เงินพิเศษค่าคอมมิชชั่น

Q : พนักงานขายจะได้ค่าคอมมิชชั่นเมื่อทำยอดขายได้ตามที่บริษัทกำหนด โปรแกรมจะรองรับการจ่ายค่าคอมมิชชั่นหรือไม่

ค่าแรงพนักงานอิงตามพื้นที่ขาย

Q : สำหรับบริษัทที่ให้ค่าแรงพนักงานขายอิงตามพื้นที่ขาย ซึ่งแต่ละสาขาจะได้ค่าแรงไม่เท่ากัน โปรแกรมจะมสามารถคำนวณค่าแรงอิงตามพื้นที่ขายให้กับพนักงานได้หรือไม่

หักเงินค่าคอมมิชชั่นของพนักงาน

Q : กรณีที่พนักงานขาย ลางาน บริษัทจะทำการหักเงินค่าคอมมิชชั่นของพนักงาน 300 บาท ต่อ 1 วัน โปรแกรมจะสามารถคำนวณได้หรือไม่

เงินพิเศษพนักงานแต่ละสาขาได้ไม่เท่ากัน

Q : พนักงานขายประจำสาขาจะได้เงินพิเศษ ซึ่งแต่ละสาขาก็จะได้ไม่เท่ากัน โปรแกรมรองรับการทำงานได้หรือไม่

พนักงานชาวต่างชาติยื่นประกันสังคม

Q: สำหรับชาวต่างชาติที่ต้องยื่นประกันสังคม โปรแกรมรองรับการคำนวณหรือไม่

เอกสารหมดอายุ

Q: ระบบจะแจ้งเตือนเอกสารหมดอายุ ในแต่ละวันเพื่อ HR ตรวจสอบได้หรือไม่

เงินเพิ่มค่าติดตั้งเครื่อง เครื่องละ 300 บาท

Q : สามารถรองรับเงินเพิ่ม เช่น ค่าติดตั้งเครื่องให้พนักงาน โดยพนักงานจะได้ค่าติดตั้งเครื่อง เครื่องละ 300 บาท สามารถตั้งข้อกำหนดนี้ได้หรือไม่

พนักงานขายและพนักงานติดรถได้เบี้ยเลี้ยงไม่เท่ากันและแต่ละจังหวัดมีอัตราต่างกัน

Q : กรณีพนักงานไปปฏิบัติงานต่างจังหวัดและมีพนักงานติดรถเพิ่มเติมซึ่งอัตราเบี้ยเลี้ยงไม่เท่ากับพนักงานขาย และแต่ละจังหวัดมีอัตราเบี้ยเลี้ยงไม่เท่ากัน สามารถกำหนดได้หรือไม่

ค่าชำนาญการ โดยคำนวณจากการนำฐานเงินเดือน

Q : รองรับการจ่ายค่าชำนาญการ โดยคำนวณจากการนำฐานเงินเดือน ในอัตราที่บริษัทกำหนด สามารถทำการตั้งค่าได้หรือไม่

ค่า Visit customer

Q : มีการจ่ายค่า Visit customer ให้พนักงาน สามารถตั้งเป็นอัตโนมัติได้หรือไม่

พนักงานที่ทำงานไม่เต็มงวด เข้าใหม่ ลาออก

Q: สำหรับพนักงานที่ทำงานไม่เต็มเดือน เช่นเป็นช่วงเข้าใหม่ หรือช่วงลาออก ต้องการให้โปรแกรมคิดค่าแรงตามวันทำงานจริง ได้หรือไม่

ค่าเบี้ยเลี้ยงตามจังหวัดที่พนักงาน

Q : บริษัทมีพนักงานที่เดินทางไปต่างจังหวัดจะได้ค่าแรงปกติและบริษัทมีค่าเบี้ยเลี้ยงเพิ่มในอัตราที่บริษัทกำหนดตามจังหวัดที่พนักงานไปโปรแกรมสามารถรองรับการรจ่ายเบี้ยเลี้ยงให้พนักงานตามเงื่อนไขบริษัทได้หรือไม่

ย้ายประวัติพนักงานข้ามบริษัท

Q: ต้องการย้ายประวัติพนักงานข้ามบริษัท ทำได้หรือไม่

ปฏิบัติงานนอกสถานที่ 5 วันให้ค่าเบี้ยเลี้ยง 4 วัน

Q : กรณีพนักงานไปปฏิบัติงานนอกสถานที่เป็นเวลา 5 วัน ซึ่งบริษัทจะให้ค่าเบี้ยเลี้ยงแค่ 4 วัน เพราะวันที่ 5 เป็นวันที่พนักงานเดินทางกลับ จะไม่ได้รับค่าเบี้ยเลี้ยง สามารถทำได้หรือไม่

การส่งข้อมูลที่สามารถให้ผู้บริหารรับเรื่องเรื่องเงินเดือน และข้อมูลอื่น ๆ เพื่อการวิเคราะห์

Q: โปรแกรมมีระบบแจ้งเตือน เรื่องสำคัญ ที่สามารถให้ผู้บริหารรับเรื่องเรื่องเงินเดือน และข้อมูลอื่น ๆ เพื่อการวิเคราะห์ ได้หรือไม่

ค่าจ้างเหมาชิ้นงาน

Q : กรณีบริษัทมีพนักงานรายเหมาโดยรายได้ขึ้นอยู่กับชิ้นงานที่พนักงานทำได้ สามารถกำหนดได้หรือไม่

เงินได้ค่าคอมมิชชั่น

Q : กรณีมีการจ่ายค่าคอมมิชชั่นให้พนักงาน โดยเงื่อนไขจ่ายแบบขั้นบันไดหรืออัตราก้าวหน้าได้หรือไม่

งวดเงินเดือน เดือนละ 2 งวด แต่ต้องการจ่ายเบี้ยขยันในงวดที่ 2

Q: บริษัท มีการจ่ายเงินเดือน งวดเงินเดือน เดือนละ 2 งวด แต่ต้องการจ่ายเบี้ยขยันในงวดที่ 2 โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

พนักงานที่มีอายุไม่ถึง 18 ปี

Q: พนักงานที่มีอายุไม่ถึง 18 ปี ระบบมีรายงานช่วยตรวจสอบหรือไม่

เงินค่าเดินทางของพนักงานเข้าใหม่หรือพนักงานที่ลาออกระหว่างงวด

Q: บริษัท มีระเบียบจ่ายเงินค่าเดินทางของพนักงานเข้าใหม่หรือพนักงานที่ลาออกระหว่างงวด จ่ายโดยเฉลี่ยตามวันที่ทำงานจริง โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

เงินพิเศษค่าชำนาญการ และค่าตำแหน่ง หักลาป่วย

Q : ถ้าบริษัทมีค่าชำนาญการ และค่าตำแหน่ง เป็นเงินได้ตามความสามารถ หากพนักงานลาป่วย กิจ ต้องการให้หักเงินได้ในส่วนนี้ไปด้วย สามารถทำได้หรือไม่

เงินเพิ่ม เงินได้อื่น บริษัทมีหลายประเภทที่เป็นลักษณะพิเศษของบริษัท

Q: นอกจากรายการเงินเพิ่ม เงินได้อื่น ตามมาตรฐานที่โปรแกรมให้มานั้น บริษัทยังมี เงินได้อื่นอีกหลายประเภทที่เป็นลักษณะพิเศษของบริษัทเอง เช่น- ค่าตำแหน่ง - ค่ากะ 50 บาท/วัน - ค่าอาหารกลางวัน 30 บาท/วัน - ค่าอาหาร OT 15 บาท/วัน - ค่าครองชีพ 500 บาท/เดือน - ค่าประสบการณ์ปีละ 300 บาท - เบี้ยขยันรายเดือนๆละ 450,600,750 บาท/เดือน สามารถกำหนดเพิ่มได้หรือไม่

มาสาย 1-15 นาทีแรกไม่หักเงิน 16-60 นาที หัก 60 นาที 61-90 นาที หัก 90 นาที

Q: บริษัทมีเงื่อนไขกรณีมาสาย หากพนักงานมาสาย 1-15 นาทีแรกไม่หักเงิน 16-60 นาที หัก 60 นาที 61-90 นาที หัก 90 นาที ระบบรองรับไหม

บริษัทออกภาษีให้พนักงาน

Q: บริษัทมีพนักงานบางท่าน ที่บริษัทออกภาษีให้ โปรแกรมรองรับหรือไม่

ปรับเงินเดือนพนักงานระหว่างงวด

Q: หากกิจการปรับเงินเดือนพนักงาน ระหว่างงวด ระบบสามารถคำนวณเงินที่ต้องจ่ายให้พนักงานตามวันและฐานอัตราเก่า และอัตราใหม่ที่ปรับได้หรือไม่

ปรับฐานเงินเดือนเป็น%เท่าๆกันทั้งบริษัท หรือบางแผนก

Q: การปรับฐานเงินเดือนเป็น%เท่าๆกันทั้งบริษัท หรือบางแผนกแบบทั้งแผนกอาจปรับไม่เท่ากัน สามารถทำได้หรือไม่

มาสาย 15 นาทีไม่หักเงินแต่เกิน 3 ครั้งหักขาดงาน 1 วัน

Q: บริษัทมีเงื่อนไขกรณีมาสาย หากพนักงานมาสาย 15 นาทีไม่หักเงินแต่เกิน 3 ครั้งหักขาดงาน 1 วันระบบรองรับไหม

ต้องโทษถูกสั่งพักงาน

Q: ถ้าพนักงานต้องโทษถูกสั่งพักงาน แบบหักค่าจ้าง โดยมีกำหนด 7 วัน ระบบสามารถทำได้หรือไม่

จ่ายโบนัสเป็นงวดพิเศษ โดยไม่ต้องการจ่ายพร้อมกับเงินเดือน

Q: บริษัท กำหนดวันจ่ายเงินเดือนให้พนักงาน แล้วแต่ต้องการจ่ายโบนัสเป็นงวดพิเศษ โดยไม่ต้องการจ่ายพร้อมกับเงินเดือนโปรแกรมรองรับหรือไม่

ช้อปดีมีคืนจากรัฐบาล

Q: ค่าลดหย่อนจากโครงการ ช้อปดีมีคืน (ซื้อสินค้าและบริการภายในประเทศ) จากรัฐบาล สามารถลดหย่อนได้ไม่เกิน30,000 ระบบรองรับหรือไม่

มาสายให้สามารถสะสมทั้งเดือนได้ 10 นาที ไม่หักเงิน นาทีที่ 11 หักตามจริงตามค่าแรง

Q: บริษัทมีเงื่อนไขกรณีมาสายให้สามารถสะสมทั้งเดือนได้ 10 นาที ไม่หักเงิน นาทีที่ 11 หักตามจริงตามค่าแรง ระบบรองรับไหม

จ่ายโบนัส ก่อนงวดเงินเดือนที่จ่ายปกติ

Q: บริษัท ต้องการจ่ายโบนัส สิ้นปี ก่อนงวดเงินเดือนที่จ่ายปกติ โปรแกรมรองรับหรือไม่

การเปลี่ยนแปลงรายการลดหย่อน สามารถแก้ไขอัตราลดหย่อนได้

Q: ในอนาคตหากกฏหมายมีการเปลี่ยนแปลงรายการลดหย่อน สามารถแก้ไขอัตราลดหย่อนได้เองหรือไม่

หยุดจ่ายเงินเดือนพนักงานในบางงวด บางเดือน แล้วนำไปจ่ายทบในรอบงวดถัดไป

Q: ถ้าต้องการ หยุดจ่ายเงินเดือนพนักงานในบางงวด บางเดือน แล้วนำไปจ่ายทบในรอบงวดถัดไป หรืออาจจ่ายไม่เต็มจำนวน ในรอบงวดถัดไป ระบบทำได้หรือไม่

บริษัทออกภาษีให้พนักงานต่างชาติที่เข้างานระหว่างปีและเข้าทำงานเพียง 5 เดือนได้หรือไม่

Q: โปรแกรมสามารถกำหนดการคำนวณภาษี บริษัทออกให้ของนายต่างชาติที่เข้างานระหว่างปีและเข้าทำงานเพียง 5 เดือนได้หรือไม่

พนักงานบางคนรับทั้งค่าแรงรายวัน และ ค่าแรงตามชิ้นงาน

Q : พนักงานบางคน รับทั้งค่าแรงรายวัน และ ค่าแรงตามชิ้นงาน โปรแกรมรองรับได้หรือไม่

พนักงานขาดงานให้หักจากเงินเดือนและเงินได้ประจำของพนักงาน

Q : เมื่อพนักงานขาดงาน ต้องการให้หักจากเงินเดือนและเงินได้ประจำของพนักงาน โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

เงินได้พนักงานฝ่ายผลิตไม่เหมือนกับพนักงานแผนกอื่น

Q : แยกเงินได้พนักงานฝ่ายผลิตที่มีเงินได้และเงินหักที่ไม่เหมือนกับพนักงานแผนกอื่นได้หรือไม่  และสามารถตรวจสอบแยกตามฝ่ายและแผนก ได้หรือไม่

มาสายเกิน 3 ครั้ง ในงวดหักมาสาย 50 บาท

Q : พนักงานมาสายเกิน 3 ครั้ง ในงวดจ่ายให้หักมาสาย 50 บาท โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

ค่าตำแหน่งให้ตามจำนวนวันทำงาน ลบกับจำนวนครั้งขาดลามาสาย

Q : กรณีต้องการจ่ายค่าตำแหน่ง ให้ตามจำนวนวันทำงาน  ลบกับจำนวนครั้งขาดลามาสาย ตัวหารเป็นยอดเงินอัตราเงินเดือนเป็นต่อวันโดยให้ทุกงวดหาร 30  โปรแกรมรองรับได้หรือไม่

เงินได้ค่าไลน์ผลิตเพิ่มเติม นอกเหนือจากค่าล่วงเวลาได้หรือไม่

Q : โปรแกรมสามารถรองรับเงินได้ค่าไลน์ผลิตเพิ่มเติม นอกเหนือจากค่าล่วงเวลาได้หรือไม่

โอนเงินเดือนใช้ธนาคารซูมิโตโม โปรแกรมรองรับหรือไม่

Q : พนักงานแต่ละคน เปิดบัญชีธนาคารต่างกัน แต่บริษัทใช้ธนาคารซูมิโตโม โปรแกรมรองรับหรือไม่

ขาดงาน และ มาสาย 2 ครั้งขึ้นไป ไม่จ่ายค่าอาหาร

Q : กรณีในงวดเงินเดือนหากมี ขาดงาน และ มาสาย 2 ครั้งขึ้นไป ไม่จ่ายค่าอาหาร โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

หักมาสายพนักงาน แต่ใช้วิธีลดเงินเพิ่ม

Q: บริษัทไม่มีเงื่อนไขการหักมาสายพนักงาน แต่ใช้วิธีลดเงินเพิ่มเช่น ค่าตำแหน่ง โดยมีเงื่อนไขว่าทุก ๆ การมาสาย 3 ครั้ง หักค่าตำแหน่ง 10% หรือหากมาสายรวมทั้งเดือนทุก ๆ 1 ชั่วโมง จะหักค่าตำแหน่ง 10% ขึ้นกับว่าค่าไหนหักมากกว่าให้โปรแกรมหักเงื่อนไขนั้น

คำนวณหักเงินมาสายเป็นนาที

Q: กรณีมาสาย สามารถคำนวณหักเงินเป็นนาทีได้หรือไม่

เก็บสถิติมาสาย

Q: บริษัทมีระเบียบการมาสาย หากพนักงานมาสายไม่เกิน 5 นาทีจะเก็บสถิติ ถ้าเกิน 1 ชั่วโมงจะหัก ครึ่งวัน ระบบรองรับหรือไม่

เงินได้ค้างจ่ายพนักงานลาออก

Q: ถ้าพนักงานลาออกแล้ว มีเงินได้ค้างจ่าย สามารถบันทึกในระบบได้หรือไม่

การประกาศลดเงินเดือนพนักงาน

Q: การมีการประกาศลดเงินเดือนพนักงาน อันมาจากสถานการณ์โควิค หากต้องการลดเงินเดือนเป็น % เช่นหัก 25% ทั้งบริษัท ระบบทำได้หรือไม่

พนักงานยืมทรัพย์สินบริษัท

Q: กรณีพนักงานยืมของบริษัทฯ ไปใช้งาน เมื่อลาออกมีแจ้งเตือนข้อมูลอย่างไร

การสรุปวันทำงานของพนักงาน โดยไม่ใช้เครื่องบันทึกเวลา

Q: กรณีไม่ใช้เครื่องบันทึกเวลา แต่ต้องการสรุปวันทำงานของพนักงาน ไปคำนวณในระบบเงินเดือน โดยแยกตามสาขาได้หรือไม่

สวัสดิการค่าครองชีพ

บริษัทมีสวัสดิการค่าครองชีพให้กับพนักงานวันละ100 บาท ตามจำนวนวันทำงาน โปรแกรมสามารถคำนวณให้แบบAUTOได้หรือไม่

การหักเงินเดือนชำระหนี้กยศ.

Q : กองทุนให้กู้ยืมเพื่อการศึกษา หรือ กยศ.มาตรการหักเงินเดือนลูกจ้างบริษัทเอกชน  ตามที่ HR หลายๆ  ท่านได้รับจดหมายจาก กยศ. ระบบช่วยการหักเงินเดือนชำระหนี้กยศ. ได้หรือไม่

ค่าอาหารช่วงโอทีของพนักงาน ให้พนักงานทำโอทีขั้นต่ำ 2 ชั่วโมงขึ้นไปถึงจะได้ค่าอาหาร

Q: เงื่อนไขการจ่ายค่าอาหารช่วงโอทีของพนักงาน ให้พนักงานทำโอทีขั้นต่ำ 2 ชั่วโมงขึ้นไปถึงจะได้ค่าอาหาร 30 บาท (ทั้งโอที 1.5 และ โอที 3 ของพนักงานรายวันและรายเดือน) ระบบรองรับหรือไม่

คู่มือการตั้งค่าขนาดกระดาษใบจ่ายเงินเดือนสำหรับกระดาษต่อเนื่อง

คู่มือการตั้งค่าขนาดกระดาษใบจ่ายเงินเดือนสำหรับกระดาษต่อเนื่อง

คู่มือแก้ไขกรณีลบผลการคำนวณ หรือ แก้ไขผลการคำนวณย้อนหลัง แต่ยังไม่ปิดงวเดือน 12

คู่มือแก้ไขกรณีลบผลการคำนวณ หรือ แก้ไขผลการคำนวณย้อนหลัง แต่ยังไม่ปิดงวเดือน 12

คู่มือเรียกรายงานแล้วมีหน้าจอแจ้งว่า พบข้อมูลแต่เงื่อนไขไม่ต้องการให้พิมพ์

คู่มือเรียกรายงานแล้วมีหน้าจอแจ้งว่า พบข้อมูลแต่เงื่อนไขไม่ต้องการให้พิมพ์

คู่มือการ Fix ภาษีระหว่างงวดและงวดสุดท้ายของพนักงาน

คู่มือการ Fix ภาษีระหว่างงวดและงวดสุดท้ายของพนักงาน

คู่มือแนะนำกรณีคำนวณเงินเดือนแล้วแต่โปรแกรมไม่คำนวณให้

คู่มือแนะนำกรณีคำนวณเงินเดือนแล้วแต่โปรแกรมไม่คำนวณให้

คู่มือแนะนำการกรองรายงานให้แสดงเฉพาะพนักงาน ไม่แสดงรายชื่อพนักงานลาออก

คู่มือแนะนำการกรองรายงานให้แสดงเฉพาะพนักงาน ไม่แสดงรายชื่อพนักงานลาออก

คู่มือแนะนำกรณีเรียกรายงาน สปส.1-10 หลังปิดงวดแล้วไม่แสดงชื่อพนักงานลาออก

คู่มือแนะนำกรณีเรียกรายงาน สปส.1-10 หลังปิดงวดแล้วไม่แสดงชื่อพนักงานลาออก

กรณีให้พนักงานที่ลาออกแล้วเป็นที่ปรึกษาต้องจ่ายรายได้เป็น 40(2)

กรณีให้พนักงานที่ลาออกแล้วเป็นที่ปรึกษาต้องจ่ายรายได้เป็น 40(2) ต้องตั้งค่าในโปรแกรมอย่างไร

การปรับเปลี่ยนอัตราหักเงินสมทบประกันสังคม 1%

เนื่องด้วยสำนักงานประกันสังคม ได้มีประกาศปรับลดอัตราเงินสมทบประกันสังคมทั้ง นายจ้าง และ ลูกจ้าง จากเดิม 5% เป็น 1% โดยมีผลในเดือน พฤษภาคม 2565 ถึง เดือน กรกฎาคม 2565

คู่มือเรียกรายงานประกันสังคมแยกสาขา

คู่มือเรียกรายงานประกันสังคมแยกสาขา

ขั้นตอนการตรวจสอบยอดเงินในโปรแกรม กับ ยอดเงินที่นำส่งสรรพากรกับประกันสังคมแล้ว

สำหรับตรวจสอบยอดเงินในโปรแกรม กับ ยอดเงินที่นำส่งสรรพากรกับประกันสังคมแล้ว

แนะนำขั้นตอนดำเนินการกรณีพนักงานเปลี่ยนวิธีการหักภาษีระหว่างปี

แนะนำขั้นตอนดำเนินการกรณีพนักงานเปลี่ยนวิธีการหักภาษีระหว่างปี

วันที่สิ้นสุดพำนักและรายงาน 90 วันของพนักงานต่างด้าว

Q : สำหรับพนักงานต่างด้าว วันที่สิ้นสุดพำนักและเรียกรายงาน 90 วัน ของพนักงานต่างด้าวได้หรือไม่

พนักงานต่างชาติ

Q : ระบบ Business Plus HRM ช่วยงานด้านพนักงานต่างชาติอย่างไรบ้าง

ใบอนุญาตทำงานหรือใบประกาศนียบัตรอื่นๆ

Q : ใบอนุญาตทำงานหรือใบประกาศนียบัตรอื่นๆ เช่นพนักงานช่างไฟต้องมีใบอนุญาตทำงาน แต่เมื่อเอกสารหมดอายุก็ต้องไปต่ออายุเอกสาร ระบบมีวิธีการแจ้งเตือนหรือไม่

ประวัติการการย้ายหน่วยงานหรือไซต์งาน

Q : ระบบสามารถเก็บประวัติการการย้ายหน่วยงานหรือไซต์งานได้หรือไม่

พนักงานต่างด้าวเอกสารสำคัญหมดอายุ

Q : กรณีพนักงานต่างด้าวเอกสารสำคัญหมดอายุ ระบบสามารถเตือนในการแจ้งวันหมดอายุหรือไม่

การบันทึกหักเงิน กยศ.

ขั้นตอนการบันทึกหักเงิน กยศ.

ทำงานควบกะ 08.00-16.00 น. ต่อด้วย 00.00-08.00 น. วันถัดไปเข้างาน 20.00-05.00 น.

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับการตั้งค่ากะการทำงาน กรณีพนักงานทำงานควบกะ 08.00-16.00 น. ต่อด้วย 00.00-08.00 น. วันถัดไปเข้างาน 20.00-05.00 น. สามารถทำได้หรือไม่ ?

การดึงข้อมูลบันทึกเวลาของพนักงานได้แบบใดบ้าง ?

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM มีวิธีการดึงข้อมูลบันทึกเวลาของพนักงาน เพื่อใช้ในการประมวลผลเวลาทำงานได้แบบใดบ้าง ?

คิดการทำ OT ของพนักงานให้อย่างไรบ้าง

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถช่วยคิดการทำ OT ของพนักงานให้อย่างไรบ้าง เพื่อช่วย HR ไม่ต้องมารวบรวมเวลาและคำนวณเอง ?

เชื่อมต่อกับ เครื่องสแกนนิ้ว

Q : โปรแกรมเงินเดือน Business plus HRM สามารถ เชื่อมต่อกับ เครื่องสแกนนิ้ว เครื่องบันทึกเวลารุ่นใดได้บ้าง

ทำงาน เสาร์ เว้น เสาร์

Q : ระบบสามารถรองรับกะการทำงาน เสาร์ เว้น เสาร์ ได้หรือไม่ ?

การลืมสแกนนิ้ว ลืมลงเวลาเข้างาน

Q : หากมีการลืมสแกนนิ้ว สามารถทำอย่างไรได้บ้าง เพื่อให้สามารถคำนวณเวลาการทำงานได้ ?

วันหยุดของพนักงานสลับวันหยุด เช่น กลุ่ม A หยุดทุกวันจันทร์ กลุ่ม B หยุดทุกวันอังคาร

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับการกำหนดวันหยุดของพนักงานสลับวันหยุด เช่น กลุ่ม A หยุดทุกวันจันทร์ กลุ่ม B หยุดทุกวันอังคาร และเป็นแผนกเดียวกันได้หรือไม่ ?

พนักงานพัก 30 นาทีก่อนเริ่มโอทีหลังเลิกงาน และปัดเศษเวลา น้อยกว่า 20 นาทีปัดเป็น 0

Q : บริษัทกำหนดให้พนักงานพัก 30 นาทีก่อนเริ่มโอทีหลังเลิกงาน โดยให้โปรแกรมคำนวณให้อัตโนมัติ และปัดเศษเวลาดังนี้ น้อยกว่า 20 นาทีปัดเป็น 0 มากกว่าหรือเท่ากับ 21 นาที แต่ไม่เกิน50 นาที ปัดเป็น 0.5 สามารถทำได้หรือไม่ ?

ทำงานควบกะโดยจะสลับทุกๆ 2 สัปดาห์

Q : ถ้าพนักงานมีการทำงานควบกะโดยจะสลับทุกๆ 2 สัปดาห์ ในโปรแกรมสามารถระบุล่วงหน้าทั้งปีได้หรือไม่

พนักงานเปลี่ยนกะการทำงานทุกวัน

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับแต่ละวันพนักงานเปลี่ยนกะการทำงาน ไม่ได้ทำกะเดิมทุกวัน โปรแกรมสามารถรองรับได้หรือไม่ ?

ฝ่ายผลิตมีงานด่วน ต้องทำงานควบกะ

Q : ถ้าพนักงานฝ่ายผลิตมีงานด่วน ต้องทำงานควบกะ ระบบสามารถรองรับการควบกะได้หรือไม่ ?

สแกนนิ้ว 4 ครั้ง คือ เช้า, เลิกงาน, ก่อนเข้า OT และ เลิก OT

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับเงื่อนไข การสแกนนิ้ว 4 ครั้ง คือ เช้า, เลิกงาน, ก่อนเข้า OT และ เลิก OT ได้หรือไม่ ?

มีกะการทำงานจำนวนมากขั้นตอนการคิดเวลาหลายขั้นตอนมาก

Q : หากมีกะการทำงานจำนวนมากขั้นตอนการคิดเวลาหลายขั้นตอนมาก โปรแกรมเงินเดือนของทาง Blus HRM รองรับการตั้งค่าหรือไม่ ?

กะการทำงานมากกว่า 1 กะ

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM รองรับการประกาศกะการทำงานของพนักงาน ที่มีกะการทำงานมากกว่า 1 กะหรือไม่ ?

รองรับ กะ การทำงานหลายกะ หลายช่วงเวลา

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับ กะ การทำงานหลายกะ หลายช่วงเวลา ได้หรือไม่ ?

วันหยุดประจำปีของรายวันกับรายเดือนที่ไม่ตรงกัน

Q : โปรแกรมรองรับการวันหยุดประจำปีของรายวันกับรายเดือนที่ไม่ตรงกันหรือไม่ ?

ชั่วโมงงานต่อวัน บางสัปดาห์อาจทำงาน 8.5 ชั่วโมง และบางสัปดาห์ทำงาน 8 ชั่วโมงงานต่อวัน

Q : โปรแกรมรองรับการคำนวณ ชั่วโมงงานต่อวัน ที่บางสัปดาห์อาจทำงาน 8.5 ชั่วโมง และบางสัปดาห์ทำงาน 8 ชั่วโมงงานต่อวัน หากมีการลาเกิดขึ้น การหัก ชั่วโมงการลา ให้หักตาม ชั่วโมงงานต่อวันตามช่วงชั่วโมงที่ทำงานนั้นได้หรือไม่ ?

ทำงานกะดึกครบ 4 ชั่วโมง มีค่ากะ และค่าอาหาร

Q : กรณีพนักงานมาทำงานกะดึก รองรับการจ่ายค่ากะ และค่าอาหารหรือไม่ โดยมีเงือนไขต้องทำงานครบ 4 ชั่วโมง ระบบ BUSINESS PLUS HRM รองรับหรือไม่ ?

รองรับการรูดบัตร หรือการบันทึกเวลาสูงสุดได้กี่ครั้งต่อวัน

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับการรูดบัตร หรือการบันทึกเวลาสูงสุดได้กี่ครั้งต่อวัน ?

ไม่ทำ OTช่วงเย็น จะถูกหักเหมาจ่าย OT วันละ 100 บาท

Q : ถ้าพนักงานกลุ่มปฏิบัติการที่อยู่ประจำไซต์งาน ไม่ทำ OTช่วงเย็น จะถูกหักเหมาจ่าย OT วันละ 100 บาท ระบบจะรองรับหรือไม่

วันหยุดประจำปี วันหยุดไม่ตรงกับวันหยุดราชการ

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถกำหนดวันหยุดประจำปีในโปรแกรมได้หรือไม่ กรณีที่วันหยุดไม่ตรงกับวันหยุดราชการ สามารถทำได้หรือไม่ ?

2 ไซต์งาน ใน 1 วัน โอทีก่อนเข้างานและหลังเลิกงาน

Q : ในกรณีที่พนักงานทำงาน 2 ไซต์งาน ใน 1 วัน มีจ่ายโอทีก่อนเข้างานและหลังเลิกงาน

ไม่สแกนนิ้วครั้งที่ 3 เข้าช่วงบ่าย หักครั้งละ 50 บาท

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับการหักเงินกรณีที่พนักงานไม่สแกนนิ้วครั้งที่ 3 เข้าช่วงบ่าย หักครั้งละ 50 บาท ได้หรือไม่ เนื่องจากบริษัท ให้รูดบัตร 4 ครั้ง เช้ามาทำงาน พักเที่ยง กลับจากพักเที่ยง และครั้งสุดท้ายตอนเลิกงาน ?

หักสายตั้งแต่นาทีที่ 31 เป็นต้นไป นาทีละ 1 บาท ?

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับเงื่อนไข การหักมาสายของพนักงาน ตามแบบที่บริษัทกำหนดได้หรือไม่ เช่น หักสายตั้งแต่นาทีที่ 31 เป็นต้นไป นาทีละ 1 บาท ?

กลับก่อน 3 ชั่วโมงขึ้นไป ให้หักขาดงาน 0.5 วัน กลับก่อน 1-60 นาที มองกลับก่อนเป็นนาทีตามจริง หรือไม่ ?

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM รองรับการตั้งค่าการกลับก่อน 3 ชั่วโมงขึ้นไป ให้มองเป็นหักขาดงาน 0.5 วัน กลับก่อน 1-60 นาที มองกลับก่อนเป็นนาทีตามจริง หรือไม่ ?

เหมาจ่าย OT โดยแยกเป็นพนักงานผู้ชาย พนักงานผู้หญิง ต่างอัตรากัน

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM กรณีเหมาจ่าย OT โดยแยกเป็นพนักงานผู้ชาย เหมาจ่ายเดือนละ 3,500 บาท พนักงานผู้หญิง เหมาจ่ายเดือนละ 3,000 บาท สามารถทำได้หรือไม่ ?

พนักงานรายวัน กับพนักงานรายเดือน บันทึกเวลาเข้า-ออกงาน ใช้เครื่องสแกนเดียวกัน

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับพนักงานรายวัน กับพนักงานรายเดือน บันทึกเวลาเข้า-ออกงาน ใช้เครื่องสแกน หรือ เครื่องบันทึกเวลา เครื่องเดียวกันได้หรือไม่ ?

เวลาทำงานปกติ 8 ชั่วโมง แต่หากทำครบ 11 ชั่วโมง จะได้ค่ากะเพิ่ม 15 บาท

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถตั้งค่าชั่วโมงการทำงาน ที่กำหนดได้เงินพิเศษได้หรือไม่ เช่น เวลาทำงานปกติ 8 ชั่วโมง แต่หากทำครบ 11 ชั่วโมง จะได้ค่ากะเพิ่ม 15 บาท สามารถตั้งค่าได้หรือไม่ ?

บริษัทให้ Admin ตามแต่ละไซต์งาน ส่งตารางกะการทำงาน รวมถึงข้อมูลการลา-การทำโอทีมาให้ฝ่ายบุคคลบันทีกเอง

Q : ปัจจุบันทางบริษัทให้ Admin ตามแต่ละไซต์งาน ส่งตารางกะการทำงาน รวมถึงข้อมูลการลา-การทำโอทีมาให้ฝ่ายบุคคลบันทีกเอง โปรแกรม Business Plus มีวิธีใดบ้าง ที่ช่วยลดการทำงานของฝ่ายบุคคล

กะการทำงาน ที่ไม่คงที่ได้หรือไม่ กะการทำงานที่เวลาเข้า-ออกงานไม่เหมือนกัน พักและโอที ไม่เท่ากัน

Q : โปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM สามารถรองรับกะการทำงาน ที่ไม่คงที่ได้หรือไม่ เช่น พนักงานมีกะการทำงานที่เวลาเข้า-ออกงานไม่เหมือนกัน พักและโอที ไม่เท่ากัน ได้หรือไม่ ?

วันหยุดประจำปี พนักงานขายจะไม่ได้หยุดตามประกาศของทางบริษัท

Q : บริษัทมีวันหยุดประจำปีให้กับพนักงาน แต่ในส่วนของพนักงานขายจะไม่ได้หยุดตามประกาศของทางบริษัท โปรแกรมจะรองรับหรือไม่

หมุนเวียนกะทุกๆ 2 สัปดาห์

Q : พนักงานมีการหมุนเวียนกะทุกๆ 2 สัปดาห์ โปรแกรมรองรับหรือไม่

พนักงาน PC เข้างาน แต่ละวันในสัปดาห์ ไม่ตรงกัน

Q : กรณีที่พนักงาน PC เข้างาน แต่ละวัน ไม่ตรงกัน เช่น วันที่ 16/12/63 เข้างานกะ 08.00-17.00 น. วันที่ 17/12/63 เข้ากะ 10.00-19.00 น. ระบบรองรับหรือไม่

วันหยุดประจำสัปดาห์และมีเวลาเข้างานที่ไม่แน่นอน

Q : พนักงานขายจะมีวันหยุดประจำสัปดาห์และมีเวลาเข้างานที่ไม่แน่นอน โดยหัวหน้างานจะเป็นผู้จัดตารางการทำงานให้กับพนักงาน จะมีวิธีการจัดการอย่างไร เพื่อให้ HR สามารถทำงานได้ง่ายขึ้น

กลับก่อนเอาโอทีมาชดเชยชั่วโมงเวลาทำงาน

Q : พนักงานขายสามารถกลับก่อนเวลาเลิกงานจริงได้ โดยเอาโอทีมาชดเชยชั่วโมงเวลาทำงาน โปรแกรมรองรับหรือไม่

สาขาที่ไม่มีเครื่องสแกนนิ้ว

Q : ในส่วนของสาขาที่ไม่มีเครื่องสแกนนิ้ว แต่ต้องการตรวจสอบเวลาการทำงานของพนักงาน จะทำอย่างไรได้บ้าง

รายงานตรวจสอบพฤติกรรมการมาทำงานของพนักงาน

Q : โปรแกรม Bplus HRM สามารถเรียกรายงานตรวจสอบพฤติกรรมการมาทำงานของพนักงาน มีรายงานรองรับหรือไม่

แก้ไขข้อมูลเวลาเข้าออกงานของพนักงาน

Q : การแก้ไขข้อมูลเวลาเข้าออกงานของพนักงาน สามารถทำได้หรือไม่ (กำหนดสิทธิ์ให้ HR)

พนักงานมีการขอสลับเปลี่ยนเวลาทำงาน แต่พนักงานไม่มาทำงาน จะหักเงินเพิ่มเติม

Q : กรณีพนักงานมีการขอสลับเปลี่ยนเวลาทำงาน ซึ่งบุคคลได้ลงข้อมูลเรียบร้อยแล้ว แต่พนักงานไม่มาทำงานสามารถให้โปรแกรมหักเงินเพิ่มเติมได้หรือไม่

กลับก่อนในสองชั่วโมงแรกหักกลับก่อนตามจริง เกิน 2 ชั่วโมงหักขาดงาน 0.5 วัน

Q : กรณีกลับก่อนในสองชั่วโมงแรกหักกลับก่อนตามจริง หากกลับเกิน 2 ชั่วโมงขึ้นไปหักขาดงาน 0.5 วัน โปรแกรม Bplus HRM สามารถรองรับได้หรือไม่

ไม่สแกนเข้างาน หรือ ไม่สแกนออกงาน นับหักขาดงาน

Q : กรณีพนักงานไม่สแกนเข้างาน หรือ ไม่สแกนออกงาน นับหักขาดงานได้หรือไม่

โอทีเกิน 2 ชั่วโมง ต้องการให้ระบบหักพัก 20 นาที

Q : กรณีพนักงานทำงานโอทีเกิน 2 ชั่วโมง ต้องการให้ระบบหักพัก 20 นาที อัตโนมัติสามารถทำได้หรือไม่

ตรวจสอบว่าพนักงานเข้าสายหลังพัก

Q : หากมีการสแกนนิ้ว 3 ครั้ง เข้างาน เข้าพักกลางวัน และ ออกงาน ต้องการตรวจสอบว่าพนักงานเข้าสายหลังพักโปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

ล่วงเวลาหลังเลิกงาน ทำครบ 3 ชม. ได้ค่าอาหาร 50 บาท

Q : ทำล่วงเวลาหลังเลิกงานถ้าพนักงานทำครบ 3 ชม. จะได้ค่าอาหาร 50 บาทสามารถตั้งค่าได้หรือไม่

วันหยุดประจำปีบางกะไม่ได้หยุด

Q : วันหยุดประจำปี หากบางกะไม่ได้หยุด สามารถตั้งค่าได้หรือไม่

เวลาทำงานไม่แน่นอนแต่ต้องทำให้ครบ 8 ชม.

Q : เวลาทำงานพนักงานเข้างานไม่แน่นอนแต่ต้องทำให้ครบ 8 ชม. สามารถทำได้หรือไม่

กำหนดให้พนักงานทำโอที ไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อเดือน

Q : หากต้องการกำหนดให้พนักงานทำโอที ไม่เกิน 48 ชั่วโมงต่อเดือน โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่

หากสแกนไม่ครบ 4 ครั้ง ให้แสดงจำนวนที่สแกน สามารถทำได้หรือไม่

Q : หากต้องการตรวจสอบเวลาสแกนนิ้ว หากสแกนไม่ครบ 4 ครั้ง ให้แสดงจำนวนที่สแกนนิ้ว สามารถทำได้หรือไม่

หักกลับก่อน กะเวลาไม่แน่นอนเป็นหน่วยนาที

Q : หากต้องการหักกลับก่อน กะเวลาไม่แน่นอนเป็นหน่วยนาที สามารถตั้งค่าในโปรแกรมได้หรือไม่

สแกนนิ้ว 2-4 ครั้งต่อวัน เข้างาน –พักเที่ยง-กลับจากพัก- เลิกงาน

ลักษณะการทำงานตามนี้ - สแกนนิ้ว 2-4 ครั้ง เข้างาน –พักเที่ยง-กลับจากพัก- เลิกงาน - มี OT เหมาชั่วโมงละ 82บาท ทั้งเที่ยงและเลิกงาน ระบบรองรับหรือไม่

คู่มือการกำหนดวันหยุดประจำปี กรณีพนักงานบางกลุ่มมีวันหยุดประจำปีไม่ตรงกัน

คู่มือการกำหนดวันหยุดประจำปี กรณีพนักงานบางกลุ่มมีวันหยุดประจำปีไม่ตรงกัน

คู่มือฉบับย่อระบบบันทึกเวลา (TM) (กรณีไม่มีเครื่องบันทึกเวลา)

คู่มือฉบับย่อระบบบันทึกเวลา (TM) (กรณีไม่มีเครื่องบันทึกเวลา)

คู่มือ กรณีพนักงานแต่ละกลุ่มมีเงินพิเศษต่างกัน

คู่มือ กรณีพนักงานแต่ละกลุ่มมีเงินพิเศษต่างกัน

คู่มือการเพิ่มเงื่อนไขเงินได้พิเศษในกะการทำงาน หากทำงานครบตามชั่วโมงงานที่ตกลง

คู่มือการเพิ่มเงื่อนไขเงินได้พิเศษในกะการทำงาน หากทำงานครบตามชั่วโมงงานที่ตกลง

คู่มือฉบับย่อระบบบันทึกเวลา (TM) (กรณีไม่มีเครื่องบันทึกเวลาใช้งานคู่กับระบบ HRM Connect)

คู่มือฉบับย่อระบบบันทึกเวลา (TM) (กรณีไม่มีเครื่องบันทึกเวลาใช้งานคู่กับระบบ HRM Connect)

คู่มือการตั้งค่ากรณีพนักงานบางกลุ่มหยุดประจำปีไม่ตรงกับที่ตั้งค่าในโปรแกรม

คู่มือการตั้งค่ากรณีพนักงานบางกลุ่มหยุดประจำปีไม่ตรงกับที่ตั้งค่าในโปรแกรม

การปรับปรุงประเภทเบี้ยขยัน จากแฟ้ม EXCEL

การปรับปรุงประเภทเบี้ยขยัน จากแฟ้ม EXCEL

คู่มือการใช้งาน RT – สิทธิการลา (ฉบับย่อ)

คู่มือการใช้งาน RT – สิทธิการลา (ฉบับย่อ)

คู่มือการเขียนสูตรเบี้ยขยันรายปี

คู่มือการเขียนสูตรเบี้ยขยันรายปี

คู่มือสิทธิการลาเฉลี่ย

คู่มือสิทธิการลาเฉลี่ย

การกำหนดประเภทเบี้ยขยันให้กับพนักงาน

การกำหนดประเภทเบี้ยขยันให้กับพนักงาน

คู่มือการใช้งาน RT – เบี้ยขยัน (ฉบับย่อ)

คู่มือการใช้งาน RT – เบี้ยขยัน (ฉบับย่อ)

โครงสร้างขั้นตอนการใช้งานระบบเบี้ยขยัน

โครงสร้างขั้นตอนการใช้งานระบบเบี้ยขยัน

การกำหนดบทลงโทษของสิทธิการลา

การกำหนดบทลงโทษของสิทธิการลา คือ การกำหนดการหักเงินของพนักงานในการลาแต่ละประเภท ในกรณีที่พนักงานลาเกินสิทธิที่ได้รับ

การกำหนดประเภทสิทธิการลาให้กับพนักงาน

การกำหนดประเภทสิทธิการลาให้กับพนักงาน

การสร้างประเภทสิทธิการลา

การสร้างประเภทสิทธิการลา

โครงสร้างขั้นตอนการใช้งานระบบสิทธิการลา

โครงสร้างขั้นตอนการใช้งานระบบสิทธิการลา

การกำหนดประเภทเบี้ยขยัน

การกำหนดประเภทเบี้ยขยัน

เบี้ยขยันพนักงานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ พนักงานรายวันและพนักงานรายเดือน แต่อัตราการจ่ายเบี้ยขยันต่างกัน

Q : บริษัทมีการให้เบี้ยขยันพนักงานแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ พนักงานรายวันและพนักงานรายเดือน แต่อัตราการจ่ายเบี้ยขยันต่างกัน โปรแกรมรองรับหรือไม่ ?

ลาพักร้อนเฉลี่ยตามอายุงานของพนักงาน

Q : บริษัทมีการให้วันลาพักร้อนเฉลี่ยตามอายุงานของพนักงาน โปรแกรมรองรับเงื่อนไขดังกล่าวหรือไม่ ?

เบื้ยขยันเป็นแบบขั้นบันได พนักงานต้องไม่มีการขาดงาน ลางาน และมาสาย

Q : บริษัทมีการจ่ายเบื้ยขยันเป็นแบบขั้นบันได โดยมีเงื่อนไขคือ พนักงานต้องไม่มีการขาดงาน ลางาน และมาสาย โปรแกรมรองรับเงื่อนไขดังกล่าวหรือไม่ ?

พนักงานจะไม่ได้รับเบี้ยขยัน ในกรณีที่ไม่สแกนนิ้วเข้า-ออก 3 ครั้ง

Q : ที่บริษัท พนักงานจะไม่ได้รับเบี้ยขยัน ในกรณีที่ไม่สแกนนิ้วเข้า-ออก 3 ครั้ง โปรแกรมรองรับเงื่อนไขนี้หรือไม่ ?

เบี้ยขยันจ่ายเดือนละ 300 บาท เมื่อครบ 3 เดือน บวกเงินพิเศษให้อีก 500 บาท

Q : บริษีทมีการจ่ายเบี้ยขยันแบบมีเงื่อนไข เช่น จ่ายเดือนละ 300 บาท เมื่อครบ 3 เดือน บวกเงินพิเศษให้อีก 500 บาท สามารถทำได้หรือไม่ ?

พนักงานลาป่วย ในช่วงที่ยังไม่ผ่านทดลองงาน

Q : โปรแกรมรองรับการหักเงินพนักงาน ในกรณีที่พนักงานลาป่วย ในช่วงที่ยังไม่ผ่านทดลองงานหรือไม่ ?

เบี้ยขยันให้กับพนักงานเป็นอัตราขั้นบันไดตามอายุงาน

Q : กรณีบริษัทกำหนดสิทธิเบี้ยขยันให้กับพนักงานเป็นอัตราขั้นบันไดตามอายุงาน ตามอัตราเงินเดือนและมีเงินได้อื่นๆ สมทบเพิ่มเติมตามเงื่อนไขที่บริษัทกำหนด โปรแกรมรองรับการให้เบี้ยขยันตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้หรือไม่ ?

ใช้สิทธิวันลาพักร้อนไม่หมด

Q : บริษัทมีนโยบาย คือ หากพนักงานใช้สิทธิวันลาพักร้อนไม่หมด สามารถนำจำนวนวันลาพักร้อนที่เหลือ จ่ายเป็นเงินแทนให้กับพนักงานได้หรือไม่ ?

เบี้ยขยันตามกลุ่มของตำแหน่งงาน

Q : โปรแกรมสามารถกำหนดเบี้ยขยันตามกลุ่มของตำแหน่งงานได้หรือไม่ ?

เบี้ยขยันแบ่งตามแผนก

Q : บริษัทมีการกำหนดการให้เบี้ยขยันแบ่งตามแต่ละแผนก โปรแกรมสามารถกำหนดประเภทของเบี้ยขยันตามแต่ละแผนกได้หรือไม่ ?

มีการให้เบี้ยขยันแบบขั้นบันไดและพนักงานได้รับเบี้ยขยันไปแล้ว เมื่อใช้โปรแกรมเงินเดือน Business Plus ระหว่างปี

Q : ในกรณีที่บริษัทมีการให้เบี้ยขยันแบบขั้นบันไดและพนักงานได้รับเบี้ยขยันไปแล้ว เมื่อใช้โปรแกรมเงินเดือน Business Plus ระหว่างปี สามารถนำเข้ายอดยกมาของเบี้ยขยันที่เคยใช้ไปได้หรือไม่ ?

เบี้ยขยันมีเงื่อนไขต้องทำงานมากกว่า 13 วัน

Q : บริษัทมีกำหนดจ่ายเงินเดือนๆ ละ 2 ครั้ง และมีเบี้ยขยันให้กับพนักงาน โดยมีเงื่อนไขต้องทำงานมากกว่า 13 วันถึงจะได้รับเบี้ยขยัน โปรแกรมรองรับหรือไม่

เวลาทำงาน 8.00-17.00 น.พนักงานจะได้เบี้ยขยันต่อเมื่อมาก่อนเวลา 15 นาที

Q : บริษัทกำหนดให้พนักงานมาทำงาน 8.00-17.00 น. แต่พนักงานจะได้เบี้ยขยันต่อเมื่อมาก่อนเวลา 15 นาที สามารถตั้งค่าได้หรือไม่

เริ่มหักมาสาย 08.00 น. แต่ต้องการให้ตั้งค่า 07.46 - 07.59 น. ตัดเบี้ยขยัน แต่ไม่หักเงิน

Q : กรณีเข้างาน 07.45 น. เริ่มหักมาสาย 08.00 น. แต่ต้องการให้ตั้งค่า 07.46 - 07.59 น. ตัดเบี้ยขยัน แต่ไม่หักเงิน สามารถทำได้หรือไม่

คู่มือกรณีเพิ่มการลา ของระบบ TM

คู่มือกรณีเพิ่มการลา ของระบบ TM

คู่มือตรวจสอบกรณีโปรแกรมไม่คำนวณเบี้ยขยัน

คู่มือตรวจสอบกรณีโปรแกรมไม่คำนวณเบี้ยขยัน

ภงด.91

Q : ฟอร์ม และ เตรียมดิกส์ ภงด.91

VDO เตรียมดิกส์ ภงด.91

VDO เตรียมดิกส์ ภงด.91

โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลนำส่งสรรพากร

โปรแกรมโอนย้ายข้อมูลนำส่งสรรพากร

งวดการจ่ายเงินเดือนพนักงานรายวันและรายเดือนไม่ตรงกัน

Q : โปรแกรมรองรับการแยกงวดเงินเดือนของพนักงานรายวันและรายเดือนที่มีงวดการจ่ายเงินเดือนไม่ตรงกันได้หรือไม่ ?

ต้องการกำหนดให้ผู้ทำเงินเดือนบางท่าน มองเห็นเงินเดือนของพนักงานได้

Q : กรณีที่โปรแกรมมีผู้ใช้งานมากกว่า 1 ท่าน และต้องการกำหนดให้ผู้ทำเงินเดือนบางท่าน มองเห็นเงินเดือนของพนักงานได้ โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่ ?

พนักงานระหว่างพนักงานรายเดือนและรายวันแยกกลุ่มผู้ทำเงินเดือน

Q : บริษัทมีการแบ่งกลุ่มผู้ทำเงินเดือนให้กับพนักงานระหว่างพนักงานรายเดือนและรายวัน โปรแกรมสามารถแยกกลุ่มผู้ทำเงินเดือนได้หรือไม่ ?

ใช้ระบบ LAN และต้องการให้ผู้ใช้งานเข้าถึงข้อมูลพนักงานได้เฉพาะกลุ่มที่ได้รับสิทธิ์ดูแลเท่านั้น

Q : กรณีใช้โปรแกรมเป็น Version LAN และต้องการให้ผู้ใช้งานเข้าถึงข้อมูลพนักงานได้เฉพาะกลุ่มที่ได้รับสิทธิ์ดูแลเท่านั้น โปรแกรมสามารถทำได้หรือไม่ ?

กรณีบริษัทมีผู้ใช้งานหลายคน แต่ละคนทำหน้าที่ไม่เหมือนกัน

Q : กรณีบริษัทมีผู้ใช้งานหลายคน แต่ละคนทำหน้าที่ไม่เหมือนกัน เช่น ผู้ใช้ที่1 สามารถทำได้ทุกอย่าง ผู้ใช้ที่2 คำนวณเวลาพนักงานอย่างเดียว ไม่ให้เห็นฐานเงินเดือน สามารถกำหนดได้หรือไม่ ?

แบ่งกลุ่มผู้ทำเงินเดือนให้สามารถเห็นข้อมูลได้เฉพาะกลุ่มที่รับผิดชอบเท่านั้น

Q : ทางบริษัทแบ่งกลุ่มผู้ทำเงินเดือนให้สามารถเห็นข้อมูลได้เฉพาะกลุ่มที่รับผิดชอบเท่านั้น เช่น กลุ่มพนักงานระดับบริหาร กลุ่มพนักงานประจำสำนักงาน กลุ่มพนักงานประจำโรงงาน ระบบรองรับการควบคุมแบบนี้ได้หรือไม่ ?

หัวหน้างานมีสิทธิ์ใช้ระบบเพื่อบริหารจัดการเวลาการทำงานให้กับพนักงานเฉพาะไซต์งานที่รับผิดชอบ

Q : ระบบมีเครื่องมือช่วยให้สามารถควบคุมการใช้งานสิทธิตามไซต์ ได้หรือไม่ เช่น ถ้าหัวหน้างานมีสิทธิ์ใช้ระบบเพื่อบริหารจัดการเวลาการทำงานให้กับพนักงานเฉพาะไซต์งานที่รับผิดชอบได้หรือไม่

แยกกลุ่มผู้ทำเงินเดือนว่าใครทำเงินเดือนให้พนักงานรายเดือนหรือรายวัน และไม่ต้องการให้เห็นฐานเงินเดือนของพนักงาน

Q : กรณีมีผู้ใช้งานโปรแกรมมากกว่า 1 ท่าน และต้องการแยกกลุ่มผู้ทำเงินเดือนว่าใครทำเงินเดือนให้พนักงานรายเดือนหรือรายวัน และไม่ต้องการให้เห็นฐานเงินเดือนของพนักงาน โปรแกรมสามารถกำหนดได้หรือไม่ ?

ตัดงวดเงินเดือนของพนักงานแต่ละสาขาจะมีการตัดรอบเงินเดือนไม่เหมือนกัน

Q : กรณีการตัดงวดเงินเดือนของพนักงานแต่ละสาขาจะมีการตัดรอบเงินเดือนไม่เหมือนกัน ระบบรองรับกรณีการตัดงวดไม่เหมือนกันหรือไม่

ให้ผู้ใช้งานบางคนเห็นข้อมูลของผู้บริหารได้เท่านั้น

Q : ต้องการให้ผู้ใช้งานบางคนไม่เห็นข้อมูลของผู้บริหาร สามารถตั้งค่าได้หรือไม่

คู่มือแนะนำการตั้งค่ารหัสลับไม่ให้หมดอายุ

คู่มือแนะนำการตั้งค่ารหัสลับไม่ให้หมดอายุ

รายงานแสดงต้นทุนค่าแรงในแต่ละไซต์งาน

Q:บริษัทมีการให้พนักงานทำงาน 3 ไซต์งานใน 1 วัน พนักงานทำงานวันละ 8 ชม. 8.00-11.00 ทำ Job (A) 11.00-14.00 ทำ Job (B) 14.00-17.00 น. ทำ Job (C) โดยมีการสแกนนิ้วเข้าและออกในทุกไซต์งาน โปรแกรมมีรายงานแสดงต้นทุนค่าแรงในแต่ละไซต์งานหรือไม่

ค่าแรงต่อวันที่ไม่เท่ากัน ตามแต่ละหน่วยงานของพนักงาน รปภ.

Q:โปรแกรมรองรับการคิดค่าแรงต่อวันที่ไม่เท่ากัน ตามแต่ละหน่วยงาน ของพนักงาน รปภ.ได้หรือไม่

ไซต์งานของธุรกิจรับเหมาก่อสร้าง

Q : ระบบรองรับการเพิ่มไซต์งานของธุรกิจรับเหมาก่อสร้างหรือไม่

แยกค่าล่วงเวลาตามไซต์งาน

Q : ในกรณีที่บริษัทต้องการแยกค่าล่วงเวลาตามไซต์งาน แต่ปัจจุบันไม่ได้ใช้เครื่องบันทึกเวลา ฝ่ายบุคคลพบปัญหาและต้องใช้เวลาทำงานมาก ระบบมีเครื่องมือช่วยอย่างไร

โครงสร้างของบริษัท มีแค่ไซต์งาน แต่ไม่มีหน่วยงาน

Q : โครงสร้างของบริษัท มีแค่ไซต์งาน แต่ไม่มีหน่วยงาน สามารถทำเงินเดือน โดยแยกค่าใช้จ่ายตามไซต์งานได้หรือไม่

โครงการของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์

Q : โปรแกรมรองรับการเพิ่มโครงการของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ได้หรือไม่

แยกค่าใช้จ่ายในงานค่าแรงของไซต์งานส่งให้ฝ่ายบัญชีให้ตรงตาม JOB COST ของฝ่ายบัญชี

Q : ทางบริษัทต้องการแยกค่าใช้จ่ายในงานค่าแรงของไซต์งานส่งให้ฝ่ายบัญชีให้ตรงตาม JOB COST ของฝ่ายบัญชีซึ่งจะไม่ตรงตามแผนกสังกัดของงานบุคคล ระบบจะช่วยงานส่วนนี้ได้หรือไม่

ต้องการย้ายไซต์ทีเดียวพร้อมกันหลายๆคน

Q : กรณีที่พนักงานมีการทำงานที่ไซต์งานเดิมเป็นเวลาหลายเดือนๆ แต่พอย้ายไซต์ใหม่ ต้องการย้ายไซต์ทีเดียวพร้อมกันหลายๆคนได้หรือไม่

ต้นทุนค่าแรงพนักงานในกรณีที่พนักงานไปทำงานหลายไซต์งาน

Q:โปรแกรมสามารถคำนวณเงินเดือน และต้นทุนค่าแรงพนักงานในกรณีที่พนักงานไปทำงานหลายไซต์งานได้หรือไม่

พนักงานรายวันมีการทำงาน 1 วัน 2 ไซต์งาน

Q : โปรแกรมรองรับพนักงานรายวันที่มีการทำงาน 1 วัน 2 ไซต์งานหรือไม่

พนักงานรายวันงานหลายไซต์ ใน 1 วัน

Q : ระบบรองรับพนักงานรายวัน ที่ทำงาน หลายไซต์ ใน 1 วันได้หรือไม่

ในกรณีที่เครื่องบันทึกเวลา ไม่สามารถกำหนดรหัสเครื่องได้ตามแต่ละไซต์งาน

Q : ในกรณีที่เครื่องบันทึกเวลา ไม่สามารถกำหนดรหัสเครื่องของเครื่องบันทึกเวลาได้ตามแต่ละไซต์งาน แต่ฝ่ายบุคคลต้องการแยกต้นทุนค่าแรงตามไซต์งาน ระบบช่วยได้อย่างไร

Check in แสดงเวลาพร้อมรหัส Site แบบอัตโนมัติเพื่อติดตามการทำงานจริง

Q : ที่ไซต์งานไม่มีเครื่องบันทึกเวลา ต้องการเก็บเวลาทำงานของพนักงานโดยที่ HR ไม่ต้องคีย์ข้อมูลให้ มีวิธีการหรือไม่ และจะตรวจสอบเวลาที่พนักงานลงเวลาว่ามาทำงานในไซต์จริง ระบบรองรับได้อย่างไร

พนักงานต้องไปทำงานมากกว่า 1 ไซต์งานต่อ 1 วัน

Q : ถ้าพนักงานต้องไปทำงานมากกว่า 1 ไซต์งานต่อ 1 วัน เช่น พนักงานลงเวลาเข้า-ออก 2 ไซต์งานใน 1 วันระบบสามารถรองรับได้หรือไม่ว่าวันดังกล่าว 0.5 วันมาจากไซต์หนึ่งและอีก 0.5 วันมาจากอีกไซต์งานหนึ่งระบบสามารถคิดค่าแรงแยกเป็นค่าใช้จ่ายของแต่ละไซต์ได้หรือไม่

พนักงาน 1 ท่านสังกัด 2 ไซต์งาน

Q : ถ้าพนักงาน 1 ท่านสังกัด 2 ไซต์งาน และได้ค่าจ้างจากทั้ง 2 ไซต์งาน ระบบรองรับหรือไม่

ไซต์งานค่าแรงไม่เท่ากัน

Q : ไซต์งานแต่ละไซต์จะได้ค่าแรงไม่เท่ากัน ระบบจะสามารถคำนวณได้หรือไม่

แยกค่าแรงในการเขียนแบบของพนักงานกลุ่มวิศวกร

Q : ทางบริษัทต้องการระบบที่สามารถแยกค่าแรงในการเขียนแบบของพนักงานกลุ่มวิศวกร โดยให้คิดค่าแรงจากไซต์งานที่เขียนแบบให้

พนักงาน Check in นอกสำนักงานต่าง Site

Q : กรณีที่ใช้งานระบบ Bplus HRM Connect แล้วพนักงาน Check in นอกสำนักงานต่าง Site ในแต่ละวัน ระบบสามารถทราบหรือไม่ว่าเวลาที่ส่งมาเป็นของไซต์งานไหน

พนักงานทำงาน 1 วัน ตั้งแต่ 3 - 5 Site ระบบจะรองรับการเก็บเวลาต่อวันได้สูงสุดกี่ครั้ง

Q : กรณีพนักงานทำงาน 1 วัน ตั้งแต่ 3 - 5 Site งานขึ้นไป แล้วในแต่ละวันจะต้องมีการ Scan หรือ Check in เข้า และ ออกงานทุกครั้ง ระบบจะรองรับการเก็บเวลาต่อวันได้สูงสุดกี่ครั้ง แล้วจะสามารถรองรับการคำนวณได้หรือไม่

ไซต์งานได้สิ้นสุดการก่อสร้อง ต้องโยกพนักงานไปประจำไซต์ใหม่

Q : ถ้าไซต์งานได้สิ้นสุดการก่อสร้อง และต้องโยกพนักงานไปประจำไซต์ใหม่ ระบบจะรองรับหรือไม่

พนักงานทำงานบางวันต่างหน่วยงาน ต่าง Site สังกัด

Q : กรณีที่มีการตั้งค่าหน่วยงาน หรือ Site งานตามสังกัดในประวัติพนักงานแล้ว แต่ในบางวันพนักงานทำงานต่างหน่วยงาน ต่าง Site ระบบจะคำนวณต้นทุนตามหน่วยงานได้หรือไม่

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพกองทุนที่ 2

Q : โปรแกรมรองรับการนำส่งกองทุนสำรองเลี้ยงชีพกองทุนที่ 2 หรือไม่

กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2 กองทุน

Q : หากบริษัทมีนโยบายเพิ่มกองทุนเป็น 2 กองทุน โดยพนักงานสามารถเลือกได้ว่าต้องการลงทุนในกองทุนที่ 1 กี่% กองทุนที่ 2 กี่ % โปรแกรมรองรับหรือไม่

สวัสดิการเบิกเงินล่วงหน้า ทำให้ HR มีงานติดตามเพิ่ม BUSINESS PLUS HRM ช่วยงานได้อย่างไร

Q : กรณีทางบริษัทมีสวัสดิการเบิกเงินล่วงหน้าให้กับพนักงาน HR ต้องติดตามและทำงานพลาดบ่อยเพราะข้อมูลแยกจากส่วนการทำเงินเดือน ระบบช่วยงานด้านนี้เพื่อลดงานและไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดได้หรือไม่

สวัสดิการเงินกู้โดยไม่คิดดอกเบี้ย

Q : กรณีที่บริษัทมีการให้พนักงานกู้ยืมเงินโดยไม่คิดดอกเบี้ย และต้องการให้หักเงินกู้ยืมออกจากเงินเดือนของพนักงานอัตโนมัติ และถ้าหักเงินกู้ยืมครบแล้ว ให้หยุดหักให้อัตโนมัติ ทำได้หรือไม่

บริษัทมีเงินค้ำประกันในบางตำแหน่ง BUSINESS PLUS ช่วยงานได้อย่างไร

Q : กรณีที่บริษัทมีเงินค้ำประกันและต้องการให้หักเงินค้ำประกันออกจากเงินเดือนของพนักงานอัตโนมัติ และถ้าหักเงินค้ำประกันครบแล้ว ให้หยุดหักให้อัตโนมัติ ทำได้หรือไม่

บริษัทที่มีสวัสดิการเงินกู้ให้พนักงาน ทั้งแบบไม่มีดอกเบี้ย และไม่มีดอกเบี้ย BUSINESS PLUS HRM มีเครื่องมือช่วยหรือไม่

Q : กรณีบริษัทที่มีสวัสดิการเงินกู้ให้พนักงาน และต้องการให้ระบบทำการหักกับเงินเดือนของพนักงานอัตโนมัติ โดยพนักงานบางหน่วยงานมีการคิดดอกเบี้ย โปรแกรมรองรับหรือไม่

เงินเดือนสกุลเงินกีบ(ประเทศลาว)

Q : บริษัทมีการคิดเงินเดือนเป็น สกุลเงินกีบ(ประเทศลาว) และต้องการคิดภาษีด้วย อยากทราบว่าทาง โปรแกรมเงินเดือนของ BUSINESS PLUS HRM สามารถรองรับหรือไม่ ?

เงินเดือนในอัตราสกุลเงินอื่นที่ไม่ใช่เงินบาท

Q : โปรแกรมสามารถรองรับการคำนวณเงินเดือนในสกุลเงินอื่นที่ไม่ใช่เงินบาท ได้หรือไม่ ?

คู่มือ Start Service Auto TM กรณีที่หยุดทำงาน

คู่มือ Start Service Auto TM กรณีที่หยุดทำงาน

Bplus HRM Connect

Q : ทางบริษัทสามารถใช้งานระบบ Application Bplus HRM Connect ได้หรือไม่ ในกรณีที่ไม่ได้ใช้โปรแกรมเงินเดือน Business Plus HRM

บริษัทต้องการทราบเวลาการทำงานของฝ่ายขาย เมื่อไปปฏิบัติงานนอกสถานที่

Q : ทาง Business Plus มีระบบอะไรบ้างที่ช่วยการทำงาน ในกรณีที่บริษัทต้องการทราบเวลาการทำงานของฝ่ายขาย เมื่อไปปฏิบัติงานนอกสถานที่

เลื่อนตำแหน่งที่อยู่ของพนักงานตอนเช็คอินได้หรือไม่

Q : ระบบ Application HRM Connect สามารถเลื่อนตำแหน่งที่อยู่ของพนักงานตอนเช็คอินได้หรือไม่

ทำงานภายในออฟฟิศและต้องไปปฏิบัติงานนอกสถานที่

Q : สำหรับบริษัทที่มีการทำงานภายในออฟฟิศและต้องไปปฏิบัติงานนอกสถานที่ ทางโปรแกรมมีเครื่องมือที่ช่วยในการบันทึกเวลาของพนักงาน อย่างไรบ้าง

รองรับการทำงานแบบ Work From Home ในช่วงโควิด

Q : Business Plus มีโปรแกรมไหนบ้าง ที่รองรับการทำงานแบบ Work From Home ในช่วงโควิด

เบิกค่าเบี้ยเลี้ยงในวันที่ไปทำงานนอกสถานที่

Q : ถ้าต้องการให้พนักงานเบิกค่าเบี้ยเลี้ยงในวันที่ไปทำงานตามแต่ละโครงการ ทาง BusinessPlus มีเครื่องมืออะไรช่วยการทำงานของพนักงานบ้าง

พนักงานโฟร์แมน ที่ไปตรวจงานตามไซต์งาน ฝ่ายบุคคลจะทราบอย่างไร

Q : สำหรับพนักงานโฟร์แมน ที่ไปตรวจงานตามไซต์งาน ฝ่ายบุคคลจะทราบอย่างไรว่าพนักงานไปอยู่หน้าไซต์งานจริง

ไซต์งาน ไม่มีเครื่องสแกนนิ้ว

Q : กรณีที่ไซต์งานที่พนักงานทำ ไม่มีเครื่องสแกนนิ้ว มีแต่การเซ็นชื่อลงเวลา ฝ่ายบุคคลสามารถนำเวลาเข้าไปในระบบได้หรือไม่

สถานที่พบลูกค้าของพนักงานขายแต่ละวัน

Q : ต้องการตรวจสอบการเดินทางเข้าพบลูกค้าของพนักงานขาย

แสดงไซต์งานที่ไปปฏิบัติงาน

Q : เมื่อมีการเช็คอินผ่านระบบHRM Connect ระบบจะสามารถแสดงไซต์งานที่ไปปฏิบัติงานได้หรือไม่

พนักงานขายที่ทำงานหลายสาขาตรวจสอบว่าไปปฏิบิตงานที่สาขานั้นๆ

Q : สำหรับพนักงานขายที่ทำงานหลายสาขา และทางบริษัทต้องการตรวจสอบการทำงานของพนักงานขาย หรือพนักงานตรวจสอบว่าไปปฏิบิตงานที่สาขานั้นๆจริงหรือไม่ จะมีวิธีตรวจสอบได้อย่างไรบ้าง

คู่มือการ Star Service HRM Connect

คู่มือการ Star Service HRM Connect

คู่มือการเปลี่ยนสายอนุมัติ กรณี ใช้งาน HRM Connect

คู่มือการเปลี่ยนสายอนุมัติ กรณี ใช้งาน HRM Connect

ยืนยันตัวตนไม่ได้ ต้องทำอย่างไร

Q : ยืนยันตัวตนไม่ได้ ต้องทำอย่างไร

วิธีการเปลี่ยนสายอนุมัติช่องทางใด

Q : เปลี่ยนสายอนุมัติช่องทางใด

ยืนยันตัวตนแล้ว ระบบแจ้ง "ไม่สามารถเชื่อมต่อ Internet"

Q : กรณีทำการยืนยันตัวตนแล้ว ระบบแจ้ง "ไม่สามารถเชื่อมต่อ Internet" จะแก้ไขอย่างไร

ถ้าต้องการเปลี่ยนเบอร์ Admin ที่ดูแลระบบ HRM Connect

Q : ถ้าต้องการเปลี่ยนเบอร์ Admin ที่ดูแลระบบ HRM Connect จะต้องทำอย่างไร

การตรวจสอบเงินเดือนตนเองผ่าน App

Q : กรณีต้องการตรวจสอบเงินเดือนตนเองผ่าน App ทำได้หรือไม่

พนักงานเปลี่ยนเบอร์มือถือในการใช้งาน App

Q : กรณีพนักงานเปลี่ยนเบอร์มือถือในการใช้งาน App จะต้องทำอย่างไร

การต้้งค่าพิกัดไว้ในสาขามากกว่า 1 สาขา ถ้าพนักงานที่อยู่สาขาสำนักงานใหญ่ แล้วไปทำงานที่สาขาอื่น แล้ว Checkin ในสำนักงาน

Q : กรณีทีมีการต้้งค่าพิกัดไว้ในสาขามากกว่า 1 สาขา ถ้าพนักงานที่อยู่สาขาสำนักงานใหญ่ แล้วไปทำงานที่สาขาอื่น แล้ว Checkin ในสำนักงาน เวลาจะเข้าโปรแกรมไหม

ยืนยันตัวตน ระบบแจ้ง "ไม่พบเบอร์ลงทะเบียน"

Q : กรณีทำการยืนยันตัวตน ระบบแจ้ง "ไม่พบเบอร์ลงทะเบียน"

ยืนยันตัวตนระบบแจ้ง "ไม่พบชื่อบริษัทที่ร้องขอ (627)"

Q : กรณีทำการยืนยันตัวตนระบบแจ้ง "ไม่พบชื่อบริษัทที่ร้องขอ (627)"

การ Check in แล้วมีหน้าจอแจ้งว่า "ตำแหน่งพิกัดล้มเหลว"

Q : กรณีทำการ Check in แล้วมีหน้าจอแจ้งว่า "ตำแหน่งพิกัดล้มเหลว"

ไม่ต้องการพิมพ์ slip เงินเดือนและเดินทางไปแจกให้กับพนักงานตามหน่วยงาน

Q : บริษัทไม่ต้องการพิมพ์ slip เงินเดือนและเดินทางไปแจกให้กับพนักงานตามหน่วยงานหรือไซต์งาน Business Plus มีตัวช่วยใดบ้าง ที่ลดการทำงานของฝ่ายบุคคล

ปัญหาเรื่องการส่ง slip แบบกระดาษให้พนักงานเพราะต้องส่งให้กับผู้จัดการก่อน

Q : HR มีปัญหาเรื่องการส่ง slip แบบกระดาษให้พนักงานเพราะต้องส่งให้กับผู้จัดการก่อนถึงจะถึงพนักงาน ซึ่งการทำงานหลายขั้นตอนโปรแกรมเงินเดือนจะช่วยลดระยะเวลาหรือลดกระบวนการทำงานได้บ้างไหม

คู่มือการแก้ไขกรณีส่ง e-Payslip ไม่ได้

คู่มือการแก้ไขกรณีส่ง e-Payslip ไม่ได้

คู่มือแนะนำวิธีการเปิดสิทธิความปลอดภัยสำหรับ Gmail กรณีส่ง e-Payslip ไม่ผ่าน

คู่มือแนะนำวิธีการเปิดสิทธิความปลอดภัยสำหรับ Gmail กรณีส่ง e-Payslip ไม่ผ่าน

ประกาศเรื่องการตั้งค่า Gmail เพื่อใช้งานร่วมกับโปรแกรม e-PaySlip

เนื่องด้วยตั้งแต่วันที่ 01/06/2565 เป็นต้นไป ระบบบัญชี e-Mail ของ Gmail ได้มีการปรับระบบความปลอดภัยใหม่ โดยกรณีที่นำบัญชีของ Gmail ไปใช้งานร่วมกับโปรแกรมอื่นๆ จะต้องผ่านการตั้งค่ายืนยันรหัสลับ 2 ชั้นก่อนที่จะดำเนินการ

อนุมัติลางานตามไซต์งาน

Q : โปรแกรมรองรับการอนุมัติลางานตามไซต์งานหรือไม่

ใบลา online

Q : ระบบ e-Leave มีฟังก์ชั่นให้พนักงานคีย์ใบลา online ได้หรือไม่ แล้วระบบสามารถทราบวันไหนลา วันไหนขาดงาน หรือไม่

บันทึกลา โอที ผ่านหน้าเว็บแล้วโอนเข้าโปรแกรมเงินเดือน

Q : ระบบ e-leave สามารถบันทึกลา โอที ผ่านหน้าเว็บแล้วโอนเข้าโปรแกรมเงินเดือนได้หรือไม่

ลาพักร้อน ต้องลาล่วงหน้า 3 วันทำการ

Q : สามารถกำหนดช่วงเวลาในการบันทึกลาตามเงื่อนไขของบริษัทได้หรือไม่ เช่น ลาพักร้อน ต้องลาล่วงหน้า 3 วันทำการ

ตรวจสอบสิทธิการลาของตนเองได้ผ่านมือถือ

Q : ทางบริษัทต้องการโปรแกรมที่รองรับการขอลางาน ขอโอที และสามารถตรวจสอบสิทธิการลาของตนเองได้ผ่านมือถือ

ไม่ต้องการให้บันทึกการลางานหรืออนุมัติล่วงเวลา เป็นงานย้อนหลัง

Q : กรณีที่ฝ่ายบุคคลไม่ต้องการให้บันทึกการลางานหรืออนุมัติล่วงเวลา เป็นงานย้อนหลัง ไม่ Realtime สามารถทำอย่างไรได้บ้าง

เปลี่ยนระบบการขอลาที่เป็นกระดาษ

Q : ต้องการเปลี่ยนระบบการขอลาที่เป็นกระดาษ มีระบบอะไรแนะนำบ้าง

ผู้อนุมัติจะทราบได้อย่างไรว่ามีรายการที่รออนุมัติลา

Q : ในระบบการขอลา ขอเปลี่ยนกะ ขอทำ OT ผู้อนุมัติจะทราบได้อย่างไรว่ามีรายการที่รออนุมัติอยู่

พนักงานไม่มีอีเมล์ สามารถใช้งานในระบบลาออนไลน์ได้หรือไม่

Q : ระบบ e-Leave กรณีพนักงานไม่มีอีเมล์ สามารถใช้งานในระบบ ได้หรือไม่

พนักงานที่ไม่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์สามารถใช้ระบบ e-Leave ได้อย่างไรบ้าง

Q : สำหรับพนักงานที่ไม่มีอุปกรณ์คอมพิวเตอร์หรือไม่ชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อบันทึกลางานเอง จะสามารถใช้ระบบ e-Leave ได้อย่างไรบ้าง

ผู้อนมัติ ไม่เข้าออฟฟิศประมาณ 1 เดือนตั้งผู้อนุมัติแทนในช่วงเวลาดังกล่าวได้หรือไม่

Q : ระบบ e-Leave กรณีผู้อนมัติ ไม่เข้าออฟฟิศประมาณ 1 เดือน สามารถตั้งค่าให้คนอื่นมาอนุมัติแทนในช่วงเวลาดังกล่าวได้หรือไม่

พนักงาน PC ทำงานตามห้าง เมื่อพนักงานลางานทำให้ตรวจสอบยาก

Q : บริษัทมีกลุ่มพนักงาน PC ทำงานตามห้าง เมื่อพนักงานลางานทำให้ตรวจสอบยากว่าพนักงานสาขาไหนลางานบ้าง แล้ววันลาคงเหลือพนักงานก็ตรวจสอบของตนเองยาก ในส่วนนี้มีระบบมีระบบช่วยเรื่องบันทึกและตรวจสอบวันลาของพนักงานประจำสาขาได้อย่างสะดวกหรือไม่

คู่มือแนะนำกรณีลืมรหัสผ่านในหน้าเว็บ ทั้งแจ้งลืมรหัสผ่าน กับล้างรหัสลับ

คู่มือแนะนำกรณีลืมรหัสผ่านในหน้าเว็บ ทั้งแจ้งลืมรหัสผ่าน กับล้างรหัสลับ

คู่มือการแก้ไขชื่อผู้ใช้งานหรือ ลบทะเบียนผู้ใช้งานในระบบ Web

คู่มือการแก้ไขชื่อผู้ใช้งานหรือ ลบทะเบียนผู้ใช้งานในระบบ Web

คู่มือแนะนำกรณีใช้งานระบบ e-Leave ระหว่างปี

คู่มือแนะนำกรณีใช้งานระบบ e-Leave ระหว่างปี

คู่มือการเปลี่ยนสายอนุมัติ ใช้งาน e-Leave อย่างเดียว

คู่มือการเปลี่ยนสายอนุมัติ ใช้งาน e-Leave อย่างเดียว

คู่มือแก้ไขกรณีที่โอนผลจากหน้าเว็บเข้ามาแล้วหน่วยผิดหรือผลลัพธ์เป็นศูนย์

คู่มือแก้ไขกรณีที่โอนผลจากหน้าเว็บเข้ามาแล้วหน่วยผิดหรือผลลัพธ์เป็นศูนย์

Browser Internet Explorer (IE) ไม่รองรับกับการใช้งานระบบ Web

Browser Internet Explorer (IE) ไม่รองรับกับการใช้งานระบบ Web

คู่มือการใช้งานระบบ e-WELFARE ส่วนการขอสวัสดิการพนักงาน

คู่มือการใช้งานระบบ e-WELFARE ส่วนการขอสวัสดิการพนักงาน

เครื่อง Smart ID

Q:กรณีมีเครื่อง Smart ID แล้วหากต้องการนำข้อมูลจากบัตรประชาชนของพนักงาน สามารถนำมาใช้งานร่วมกับโปรแกรม BUSINESS PLUS HRM ได้หรือไม่

ต้องการนำเข้าข้อมูลจากบัตรประชาชนแทนการคีย์ข้อมูล

Q : กรณีต้องการนำเข้าข้อมูลจากบัตรประชาชนแทนการคีย์ข้อมูล เพื่อลดการทำงานและป้องกันการคีย์ผิดพลาด โปรแกรมBUSINESS PLUS HRM รองรับงานส่วนนี้หรือไม่

โปรแกรมเงินเดือนสามารถใช้งานกับ Windows ใดได้บ้าง

โปรแกรมเงินเดือนสามารถใช้งานกับ Windows ใดได้บ้าง

SSD คืออะไร แตกต่างกับ HDD อย่างไร?

SSD คืออะไร แตกต่างกับ HDD อย่างไร?

คู่มือการแก้ไขรูปแบบวันที่

คู่มือการแก้ไขรูปแบบวันที่

คู่มือการเปลี่ยนภาษาในคอมพิวเตอร์สำหรับ Windows 7,10

คู่มือการเปลี่ยนภาษาในคอมพิวเตอร์สำหรับ Windows 7,10

เตรียมพร้อมรับมืองานเงินเดือนสิ้นปีแบบมืออาชีพ พร้อมเทคนิคป้องกันและแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เตรียมพร้อมรับมืองานเงินเดือนสิ้นปีแบบมืออาชีพ พร้อมเทคนิคป้องกันและแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สิ่งที่ต้องทำสิ้นปี 1. ตั้งงวดเงินเดือน 2. ตั้งวันหยุดประจำปี 3. นำส่งรายงานราชการ 4. เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่

Q : รายได้สะสมต่อปีในสลิปกับ เงินได้ทั้งปีใน 50 ทวิไม่ตรงกัน

A : รายได้สะสมต่อปีในสลิปกับ เงินได้ทั้งปีใน 50 ทวิไม่ตรงกันgdbf0kd 1. รายงานสลิปเงินเดือน ช่องเงินได้สะสม จะเป็นการติ๊กรายได้ทั้งหมดของพนักงานโดยไม่ได้ดึงเฉพาะรายการเงินได้ที่ตั้งค่าคิดภาษี การแก้ไข (กรณีที่ต้องการเฉพาะเงินได้ที่คิดภาษี) 1.ช่องเงินได้สะสม ต้องติ๊กเงินได้ที่คิดภาษีเท่านั้น และต้องติ๊กเงินหักที่มีผลในการคิดภาษีด้วย 2.วิธีการรวมของรายงาน ต้องเลือกเป็น-->ผลการคำนวณสะสมคิดตามเงินเพิ่มเงินหัก ( เพื่อให้รายงานเอาเงินได้คิดภาษี ลบด้วย เงินหักที่คิดภาษี = จะได้ยอดเท่ากับ 50 ทวิ)

Q : ในกรณีเลขที่ผู้เสียภาษีของพนักงานชาวต่างชาติเป็นคนละเลขกับเลขที่ประกันสังคม ต้องกำหนดอย่างไร

A : ตรวจสอบดังนี้ 1.แนะนำให้นำเลขประจำตัวผู้เสียภาษีไปใส่ในช่องเลขที่บัตรประชาชน โปรแกรมจะดึงข้อมูลตรงส่วนนี้ไปแสดงในช่องเลขประจำตัวผู้เสียภาษีในรายงานส่งสรรพากร 2.เลขประกันสังคม ให้กำหนดเลขในประวัติพนักงาน ในแถบประกันสังคม

Q : รายงาน กท.20ก นำยอดจากไหนมาแสดง และตรวจสอบอย่างไร

A : รายงานกท.20ก นำยอดจากรายงานสปส.1-10 แต่ละเดือนมาแสดง รวมถึงจำนวนคนด้วย กรณีต้องการตรวจสอบ แนะนำให้ตรวจสอบที่รายงานแบบคำนวณค่าจ้างเพื่อประกอบรายงานตามแบบกท.20ก ตามพนักงาน กรณีไม่ถูกต้องแนะนำให้ตรวจสอบจากยอดพนักงานที่รายงานนี้ว่าคนใดไม่ตรง ให้ไปแก้ไขผลการคำนวณเงินเดือน

Q : สิ้นปีต้องการจ่ายโบนัสให้พนักงาน มีวิธีการบันทึกโบนัสให้พนักงานได้อย่างไรบ้าง

A : กรณีบันทึกเงินโบนัสให้พนักงานสามารถทำได้โดย ตัวอย่างการบันทึกโบนัส จาก VDO

Q : วิธีการเรียกรายงาน 50 ทวิ ต้องเรียกรายงานอย่างไร

A : สามารถเรียกในโปรแกรมได้ที่หน้าจองานเงินเดือน --> ผลการคำนวณเงินเดือน --> รายงาน --> รายงานส่งสรรพากร(ฉบับที่3) --> หนังสือรับรองการ หักภาษี ณ ที่จ่าย (50 ทวิ) (ฉบับที่ 131) โดยระบุวันที่เป็นวันที่จ่ายงวดสุดท้ายของปี - วันที่จ่ายงวดสุดท้ายของปี (ถ้าไม่ทราบวันที่ให้ตรวจสอบได้ที่หน้าจอผลคำนวณเงินเดือน เดือน12 งวดสุดท้ายแสดงวันที่เท่าไหร่เอาวันที่นั้นมาเรียกรายงาน)

Q : ทำไมในเดือน 12 ระบบหักภาษีไม่เท่ากับเดือน 11 ทั้งๆ ที่เงินได้เท่าเดิม

A : เนื่องจากในเดือน 12 ระบบจะทำการคำนวณแบบ Adjust ภาษีทั้งปี ซึ่งในบางงวดระหว่างปีพนักงานมีเงินได้ไม่สม่ำเสมอ( เช่น โอที หรือ โบนัส) ก็จะทำให้ภาษีแต่ละเดือนไม่เท่ากัน ในเดือนที่ 12 โปรแกรมจะคำนวณภาษีจากเงินได้จริงของพนักงาน และหักออกด้วยภาษีที่จ่ายไปแล้วของเดือน 1-11 ก็จะได้ภาษีของเดือนที่ 12 ที่พนักงานจะต้องจ่าย

Q : หากไม่ต้องการให้โปรแกรมคำนวณหักภาษีในงวดเดือน 12 เลย ต้องทำอย่างไร

A : แนะนำต้องกำหนดในประวัติพนักงานแถบภาษีเงินได้ หัวข้อ เฉพาะกรณีต้องการแก้ไขภาษีนำส่งเอง ให้ติ๊ก ต้องการแก้ไข ตรงช่อง งวดปลายปี ระบุจำนวน 0 (ซึ่งการแก้ไข โดยการ Fix ภาษีนั้นทำให้เดือนที่ 12 โปรแกรมไม่หักภาษีเท่านั้น แต่ตอนที่พนักงานไปยื่น ภงด91 นั้น อาจจะต้องไปเสียภาษีเพิ่มเองภายหลัง)

Q : การใส่ตราประทับและลายเส้นในรายงาน 50 ทวิ ทำอย่างไร

A : สามารถนำรูปไฟล์ (.bmp) ไปวางไว้ที่โฟลเดอร์ C:/Program Files (x86)/EBP/BplusHrm v7.1 และตั้งชื่อรูปสำหรับลายเซ็น LogoSignature และตราประทับ LogoCompany สำหรับขนาดรูปปกติจะเป็น 1"x1" แต่แนะนำให้ลองเรียกรายงานและปรับขนาดจนได้ตามต้องการ

Q : ต้องการทราบวิธีการตั้งค่าวันหยุดประจำปี สามารถทำได้อย่างไร

A : วิธีการตั้งค่าวันหยุดประจำปีสามารถทำได้ดังนี้

Q : ต้องการบันทึกการปรับเงินเดือนพนักงาน ทำได้อย่างไร

A : กรณีต้องการบันทึกการปรับเงินเดือนพนักงานสามารถทำได้โดย

Q : กรณีต้องการแก้ไขที่อยู่กิจการในรายงาน 50 ทวิ ทำได้อย่างไร

A : สามารถตรวจสอบการกำหนดชื่อกิจการ คลิกที่ฐานข้อมูล --> เครื่องมือ--> กำหนดชื่อกิจการ ใส่ User และ Password -->ทำการแก้ไขที่อยู่ และกดบันทึกได้เลย

Q : ต้องการเรียกรายงาน ภ.ง.ด. 1 ก มีวิธรการเรียกรายงานอย่างไร

A : แนะนำเรียกรายงาน 50ทวิ ที่หน้าจองานเงินเดือน > ผลการคำนวณเงินเดือน > เมนูรายงาน > รายงานส่งสรรพากร ฉบับที่ 3 > รายงาน ภงด1ก (ตามแนวตั้ง) และใส่วันที่จ่ายงวดสุดท้ายของปี เช่น 25/12/2563 -25/12/2563

Q : กรณีลืมปิดงวดเงินเดือนระหว่างปี มีวิธีการแก้ไขอย่างไร

A : กรณีต้องการแก้ไขการปิดงวดเงินเดือนระหว่างปี สามารถทำได้โดย

Q : กรณีเรียกรายงาน กท20ก. และจำนวนพนักงานไม่ครบและยอดเงินไม่ตรง

A : ตรวจสอบรายละเอียดดังนี้ 1. ตรวจสอบในส่วนประวัติพนักงานที่ลาออก และมีการติ๊ก ช่องหัก ปกส ออก จะทำให้รายงานไม่ดึง ให้เช็คในส่วนของกรณีพนักงานที่ลาออก 2. ตรวจสอบมีการไปติ๊กออกในส่วนของแถบประกันสังคมในประวัติพนักงานให้เราไปแก้ไขโดนไปติ๊กให้คิดประกันสังคมของพนักงานที่ลาออกและเราไปติ๊กออกเราไม่คิดประกันสังคมและลองทดสอบเรียกรายงานก็จะตรงครับ

Q : รายงานกท.20ก จำนวนคนไม่ตรงกับรายงาน สปส.1-10 แต่ละเดือน

A : หากมีพนักงานที่ตอนเข้างานมาไม่คิดประกันสังคม แล้วมาเลือกคิดทีหลัง โดยใช้ประวัติเดิม จะทำให้จำนวนคนแสดงย้อนหลังในเดือนที่พนักงานยังไม่คิดประกันสังคม แนะนำว่าหากมีพนักงานที่คิดประกันสังคมหลังจ่ายเงินเดือนจากโปรแกรม ให้ทำการแยกประวัติพนักงาน

Q : หลังจากที่เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่แล้วต้องทำขั้นตอนอะไรต่อ

A : หลังจากเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ 1. ให้ทำการตั้งงวดเงินเดือน ของปี 2564 2. ทำการตั้งค่าวันหยุดประจำปี ของปี 2564

Q : รายงาน กท 20 ยอดไม่ตรง กับ สปส 1-10 แต่ละเดือน

A : วิธีการตรวจสอบ 1.ตรวจสอบ สปส 1-10 ในโปรแกรมยอดเงินและยอดจำนวนคน เทียบกับที่ส่งไปตรงหรือไม่ ถ้าไม่ตรงหารายชื่อใครหายไป หรือใครยอดไม่ตรง 2.ตรวจสอบคนที่ลาออก มีการติ๊กหักประกันสังคมในประวัติออกหรือไม่ถ้าเอาออกให้ติ๊กกลับมาแล้วพิมพ์รายงานใหม่

Q : ยอดประกันสังคมในรายงาน 50 ทวิ ไม่ตรงตามที่นำส่งประกันสังคม

A : เนื่องจากยอดหักประกันสังคนในเดือน 3 ลูกค้ายังไม่ได้ปรับปรุงให้หัก 1% เนื่องจากในเดือน 3 จ่ายเงินเดือนไปแล้วมาทราบภายหลังว่าต้องหักในอัตรา 1% วิธีแก้ไข ใช้โปรแกรม Bplus SSO ปรับยอดก่อน

Q : ต้องการให้รายงาน 50 ทวิ แสดง Logo

A : กรณีต้องการให้รายงาน 50 ทวิ แสดง Logo ด้วยนั้น สามารถทำได้โดย

Q : สิ้นปี โปรแกรมเงินเดือนมีวิธีการคำนวณภาษีอย่างไร

A : การคำนวณภาษีของโปรแกรมเงินเดือนงวดสิ้นปี มีวิธีการคำนวณภาษีดังนี้

Q : เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่แล้ว ผลคำนวณปีที่แล้วหาย

A : แนะนำลูกค้าต้องไม่ติ๊กลบผลคำนวณปีเก่าออก หากมีการสำเนาไว้ แนะนำให้นำสำเนากลับมาแล้วทำการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่อีกครั้ง

Q : สิ่งที่ต้องทำก่อนการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ มีอะไรบ้าง

A : สิ่งที่ต้องทำก่อนการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ สามารถทำตาม VDO

Q : รายงาน กท.20 ไม่มีชื่อพนักงาน 1 คน

A : เกิดจากพนักงานลาออก มีหักขาดงานยอดติดลบ ลบผลการคำนวณออก บันทึกลาออกปิดงวดใหม่ เรียกรายงาน

Q : เงินสมทบประกันสังคมยอดไม่ตรงแสดงยอดไม่เกิน 15000

A : จากการตรวจสอบพบว่าลูกค้าเรียกรายงานส่งประกันสังคมตัวเก่า แนะนำวิธีเรียกรายงานใหม่โดยไปที่งานเงินเดือน --> ผลการคำนวณเงินเดือน--> เมนูรายงาน --> เรียกรายงานประกันสังคมฉบับที่2 --> แบบแสดงรายการส่งเงินสมทบสปส1-10 ตามแนวตั้ง

Q : สลิปเงินเดือนแสดงยอดไม่ถูกต้อง แสดงยอดของปีก่อนหน้ามาด้วย

A : วิธีการแก้ไขกรณีสลิปเงินเดือนแสดงยอดไม่ถูกต้อง แสดงยอดของปีก่อนหน้ามาด้วย 1.ให้ตรวจสอบในประวัติพนักงานเกิดจากมีการกรอกยอดยกมาก่อนใช้โปรแกรม และไม่ได้ทำการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ แนะนำให้ทำการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ก่อน 2. แก้ไขรายงานโดยการลงทะเบียนรายงาน แล้วไม่ต้องติ๊กเงินได้ก่อนใช้โปรแกรม

Q : หากต้องการรายงาน ล.ย.01 เพื่อให้พนักงานกรอกข้อมูลลดหย่อน สามารถเรียกในโปรแกรมได้หรือไม่

A : สามารถเรียกในโปรแกรมได้ที่หน้าจองานเงินเดือน --> ผลการคำนวณเงินเดือน --> รายงาน --> รายงานส่งสรรพากร(ฉบับที่3) --> แบบแจ้งรายการเพื่อการหักลดหย่อน (ล.ย.01)

Q : ต้องการเตรียมดิสก์ส่ง ภ.ง.ด. 1 สามารถทำได้อย่างไร

A : กรณีต้องการเตรียมดิสก์ส่ง ภ.ง.ด. 1 สามารถทำได้โดย

Q : โปรแกรมไม่คำนวณภาษีให้พนักงานในเดือนธันวาคม ปกติเสียภาษีมาทุกเดือน

A : เนื่องจากพนักงานเสียภาษีมาตลอดทั้งปี เมื่อถึงเดือนธันวาคมเดือนสุดท้ายของปี ระบบทำการ Adjust ภาษีสิ้นปีให้พนักงาน หากระบบคำนวณตามเงื่อนไขป.96 เรียบร้อยแล้ว พบว่าพนักงานเสียภาษีครบจากที่มีเงินได้ ระบบก็จะไม่หักภาษีพนักงานในเดือนธันวาคม และอาจจะได้เงินคืนด้วยกรณีที่เสียภาษีไปมากกว่าที่ Adjust ได้ การตรวจสอบ หน้าจอผลการคำนวณเงินเดือน -->งวดเดือนที่ 12 --> หาชื่อพนักงาน --> คลิกขวา เลือกแสดงวิธีคำนวณภาษี

Q : กรณีเรียกรายงาน 50 ทวิ และต้องการแก้ไขวันที่สามารถแก้ไขได้อย่างไร

A : ตรวจสอบตอนเรียกรายงาน 50 ทวิ -->หลังกดเริ่มพิมพ์ --> จะมีหน้าจอปรับเปลี่ยนข้อความ ให้พิมพ์ ตรงบรรทัด วันเดือนปีที่ออกหนังสือรับรอง แล้วกดบันทึก

Q : กรณีต้องการเรียกรายงาน 50 ทวิ ต้องการให้ติ๊กถูกที่ ภงด .3

A : ตรวจสอบตอนเรียกรายงาน 50 ทวิ -->หลังกดเริ่มพิมพ์ --> จะมีหน้าจอปรับเปลี่ยนข้อความ ให้ติ๊กไม่พิมพ์ ตรงบรรทัด ต้องการพิมพ์ ภงด1ก แล้วกดบันทึก

Q : บันทึกลดหย่อนภาษีให้พนักงาน มีวิธีการบันทึกอย่างไร

A : กรณีกรอกลดหย่อนภาษี สามารถทำได้โดย 1.คีย์ในประวัติพนักงาน --> แถบภาษีเงินได้ --> แถบหักลดหย่อน 2.นำเข้าจาก Excel ลดหย่อนก็ได้ โดยจะต้องกรอกช่องที่สำคัญให้ครบไม่งั้นจะไม่สามารถนำเข้าข้อมูลได้

Q : กรณีตรวจสอบยอดเงินได้ในรายงาน 50 ทวิ แล้วพบว่ายอดเงินได้ไม่ตรง มีวิธีการตรวจสอบอย่างไร

A : วิธีการตรวจสอบกรณีเงินได้ในรายงาน 50 ทวิไม่ตรง วิธีที่ 1 ตรวจสอยการบันทึกยอดยกมาในประวัติท่านนั้น ว่ามีการระบุยอดยกมาหรือไม่ วิธีที่ 2 แต่ถ้าในประวัติไม่ได้กรอกยอดยกมา ให้ไปเรียกรายงาน ภงด.1 แต่ละเดือนของพนักงานที่ยอดไม่ตรง ว่าไม่ตรงที่เดือนไหน หากทราบเดือนที่ไม่ตรงแล้วให้ทำการแก้ไขผลคำนวณให้ตรงตามที่นำส่งทางราชการไปแล้ว

Q : ภาษีเหมา 3% เดือน 12/2563 คำนวณหักไม่ตรง เยอะกว่าปกติ

A : เนื่องจากระหว่างปีมีเปลี่ยนวิธีหักเป็น 1.5 ทำให้งวดสุดท้ายมีการ adjust ภาษี วิธีการแก้ไข 1.ต้องแก้ไขผลคำนวณหลังปิดงวด 2.ถ้ายังไม่ได้ปิดงวดในแก้ไขโดยการ Fix ภาษีงวดปลายปีได้

Q : กรณีจ่ายเงินชดเชยตามกฏหมายคุ้มครองแรงงาน และต้องการนำไปรวมคำนวณภาษีใน ภงด.91 ทำได้อย่างไร

A : กรณีต้องการจ่ายเงินชดเชยตามกฏหมายคุ้มครองแรงงาน และนำไปรวมคำนวณภาษีใน ภงด.91 สามารถทำได้โดย

Q : สิ้นปีจ่ายโบนัสให้พนักงานในงวดพิเศษ มีวิธีการตั้งงวดพิเศษได้อย่างไรบ้าง

A : กรณีตั้งงวดพิเศษเพื่อจ่ายเงินได้ให้พนักงาน สามารถทำได้โดย

Q : เรียกรายงาน กท 20 กรองสาขาไม่ได้

A : วิธีการ 1.ต้องแยก User ให้เห็นตามสาขา 2.ใช้ user สร้างสร้างขึ้นมาที่กำหนดสิทธิ เห็นเฉพาะสาขานั้นๆ เรียกรายงาน กท.20 ก

Q : เพิ่มค่าลดหย่อน SSF แล้ว แต่ทำไมโปรแกรมเงินเดืนอไม่ลดหย่อนให้

A : ให้ตรวจสอบ หน้าจอการตั้งค่า--> ระบบเงินเดือน--> เมนูแฟ้ม--> ตั้งค่าอื่นๆ--> แถบลดระหว่างปี ไม่ได้ติ๊ก ให้ติ๊ก นำเงินสมทบต่อไปนี้ลดหย่อนระหว่างปีไว้ แล้วทำการคำนวณเงินเดือนใหม่

Q : กรณีต้องการเรียกรายงาน 50 ทวิจำเป็นต้องปิดงวดสิ้นปีก่อนหรือไม่

A : แนะนำว่าต้องปิดงวดก่อนเพื่อให้ผลการคำนวณนั้น Fix ผลการคำนวณแล้ว (เพื่อป้องกันกรณีที่ลูกค้าไปแก้ไขข้อมูลผลการคำนวณจะได้ไม่เปลี่ยน)

Q : ถ้ายังปิดปีหรือยังไม่เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่สามารถทำเงินเดือนของเดือนมคได้เลยไหม

A : สามารทำได้เลยค่ะเนื่องจากในการคำนวณจะมองตามปีภาษีไม่มีผลกระทบกัน

Q : กรณีต้องการเรียกรายงาน 50 เฉพาะพนักงานปัจจุบัน

A : เนื่องจากรายงาน 50 ทวิจะกรองข้อมูลไม่ได้ ซึ่งจะมีวิธีการแยกพนักงานได้ 2 วิธีดังนี้ วิธีที่ 1 หากลูกค้ามีระบบกำหนดสิทธิการใช้งาน AS 1. กำหนดความสำคัญของพนักงานลาออก เช่น เลข 1 2. พนักงานปัจจุบันอีกเลข เช่น เลข 2 3. ทำการกำหนดสิทธิให้เห็นเฉพาะพนักงานตามตัวเลขที่กำหนด วิธีที่ 2 1. สร้างแผนกลาออก 2.ย้ายพนักงานลาออกไปไว้แผนกลาออกแทน 3.ทำการเลือกเฉพาะแผนก ไม่ต้องเลือกแผนกลาออก

Q : กรณีที่เริ่มใช้งานโปรแกรมระหว่างปี แล้วยอดประกันสังคมตอนปริ้นทวิ50 ประกันสังคมโชว์ไม่ครบ12เดือน

A: เกิดจากตอนใช้งานโปรแกรมแล้วไม่ได้กรอกยอดยกมาของประกันสังคม แนะนำให้ไปกรอกยอดยกมาแล้วทำการเรียกรายงานใหม่

Q : ตรวจสอบการคำนวนภาษี หน้าจอผลการคำนวณเงินเดือน ไม่แสดงคอลัมภ์ ภงด.91 เป็นเพราะอะไร

A : กรณีหน้าจอผลการคำนวณเงินเดือน ไม่แสดงคอลัมภ์ ภงด.91 สามารถดูวิธีการตรวจสอบได้จาก VDO

Q : วิธีการตรวจสอบภาษีแบบหัก ณ ที่จ่ายทำได้อย่างไร

A : กรณีต้องการตรวจสอบการคำนวณภาษี หัก ณ ที่จ่าย สิ้นปี สามารถทำได้โดย

Q : ทำไมเดือนที่ 12 โปรแกรมไม่ adjust ภาษีให้ และไม่มีแถบ ภงด 91 ในหน้าแสดงวิธีคำนวณภาษีด้วย ตรวจสอบได้อย่างไร

A : ตรวจสอบการตั้งงวดเงินเดือน ของเดือน 12 ไม่ได้ติ๊กงวดสุดท้ายของปีภาษี แนะนำให้ติ๊กแล้วทำการคำนวณเงินเดือนใหม่

Q : นำส่งประกันสังคมไม่ได้ ในเว็บแจ้งว่าพบข้อผิดพลาดในรายชื่อของพนักงานต่างด้าว

A : ให้ลูกค้าเปิด textfile ขึ้นมา แล้วแทนที่ - ตรงนามกสุลของลูกจ้างต่างด้าว ให้แทนที่ด้วยช่องว่าง แล้วนำไฟล์ไปอัปโหลดอีกครั้ง

Q : รายงานสรุปยอดเงินเดือนกับรายงานสปส.1-10 ยอดประกันแสดงไม่เท่ากันสามารถ ตรวจสอบได้อย่างไร

A : แนะนำตรวจสอบดังนี้ 1. มีคนที่ผลการคำนวณมีหักประกันสังคม แต่ปัจจุบันในประวัติไม่ได้ติ๊กประกันสังคมหรือไม่ 2. มีคนที่ยอดเงินเป็น 0 แต่ถูกหักประกันสังคมหรือไม่

Q : กรณีรายงาน 50 ทวิ ในโปรแกรมแล้วแสดงปีในรายงานขึ้นไม่ถูกต้อง

A : เกิดจากใส่วันที่เรียกรายงานไม่ถูกต้อง จะต้องใส่วันที่จ่ายถึงวันที่จ่ายสิ้นปีเดือนธันวาคม (ถ้าไม่ทราบวันที่ให้ตรวจสอบได้ที่หน้าจอผลคำนวณเงินเดือน เดือน12 งวดสุดท้ายแสดงวันที่เท่าไหร่เอาวันที่นั้นมาเรียกรายงาน)

Q : กรณีต้องการเรียกรายงาน 50 ทวิ ให้แสดงที่อยู่ตามสาขา ทำอย่างไร

A : ตรวจสอบ ณ ขณะเรียกรายงาน 50 ทวิ -->หลังกดเริ่มพิมพ์ --> จะมีหน้าจอปรับเปลี่ยนข้อความ ให้ติ๊กไม่พิมพ์ ตรงบรรทัด ต้องการที่อยู่ตามสำนักงานใหญ่ แล้วกดบันทึก

Q : ต้องการ Fix ภาษีระหว่างงวดและงวดสุดท้ายของพนักงาน ทำไรอย่างไร

A : กรณีต้องการ Fix ภาษีระหว่างงวดและงวดสุดท้ายของพนักงาน สามารถทำได้โดย

Q : หากเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ไปแล้วจะยังสามารถดูข้อมูลของปีเก่าได้อยู่หรือไม่

A : แนะนำสามารถตรวจสอบได้โดยทำการสำเนาฐานข้อมูลปีเก่าไว้ก่อน และแยกฐานข้อมูลออกเป็นของปี 2563 และ 2564 เพื่อให้ยังคงสามารถเชื่อมโยงฐานข้อมูลเข้ามาตรวจสอบย้อนหลังได้

Q : กรณีที่เรียกรายงาน ภงด1 แต่ละเดือนมาตรวจสอบแล้วพบว่ายอดไม่ตรงกับที่นำส่งไป สาเหตุเกิดจากอะไรบ้าง

A : กรณีที่เรียกรายงาน ภงด1 แต่ละเดือนมาตรวจสอบแล้วพบว่ายอดไม่ตรงกับที่นำส่งไป สาเหตุเกิดจาก 1. สาเหตุเกิดจากลูกค้ามีการเรียกรายงานส่งราชการก่อนปิดงวดเงินเดือน หากมีการแก้ไขเงินได้ที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณภาษีและทำการคำนวณปิดงวดใหม่ยอดจะเปลี่ยนจากที่เคยคำนวณ วิธีการแก้ไข 1. ต้องเรียกรายงาน ภงด 1 แต่ละเดือน แล้วตรวจสอบจากใบปะหน้าว่าเดือนใดไม่ตรงบ้าง 2. ตรวจสอบแล้วเดือนอะไรไม่ตรง ให้หาว่าไม่ตรงที่พนักงานท่านใด หลังจากนั้นแก้ไขผลการคำนวณให้ตรงกับ ภงด1 แต่ละเดือนที่ส่งไป

Q : ทำไมรายงานแสดงยอดรวมภงด.1 แต่ละเดือนถึงมียอดเงินไม่เท่ากันกับรายงานที่เคยพิมพ์ไว้ในเดือนนั้น ๆ

A : แบ่งออกเป็น 2 กรณีคือ 1. มีการแก้ไขผลการคำนวณหลังปิดงวดของเดือนนั้น ๆ จึงทำให้ยอดที่นำส่งกับยอดที่มีในปัจจุบันไม่เท่ากัน 2. กรณีประวัติพนักงานถูกเปลี่ยนเป็น "ไม่คิดภาษี" จะทำให้ยอดเงินได้ส่วนของพนักงานคนดังกล่าวถูกตัดออกไปจากในรายงาน

Q : ตรวจสอบพบว่าสิ้นปีรายงาน ภงด.1ก ไม่เท่ากับ ภงด.1 ทุกเดือนรวมกัน มีวิธีการแก้ไขได้อย่างไร

A : กรณีภงด.1ก ไม่เท่ากับ ภงด.1 ทุกเดือนรวมกัน สามารถตรวจสอบและแก้ไขได้โดย

Q : ต้องการบันทึกการปรับเงินเดือนระหว่างเดือน สามารถทำได้อย่างไร

A : กรณีต้องการบันทึกการปรับเงินเดือนระหว่างงวดเงินเดือน สามารถทำได้โดย

Q : กรณีเรียกรายงาน 50 ทวิ พบว่ารายงาน 50 ทวิแสดงยอดกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเกิน เกิดจากอะไร

A : แนะนำให้ตรวจสอบในประวัติพนักงานในแถบกองทุนสำรองเลี้ยงชีพว่ามีการใส่ยอดยกมาก่อนใช้โปรแกรมไว้หรือไม่ถ้ามีให้นำออก (เพราะว่าเกิดจากลูกค้าอาจจะไม่ได้เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่)

Q : กรณีที่ตรวจสอบผลการคำนวณแล้วพบว่าในเดือน 12 พนักงานถูกหักภาษีสูงกว่าปกติเกิดจากอะไร

A : เนื่องจากในงวดเดือน 12 หรืองวดที่พนักงานลาออกโปรแกรมจะทำการ Adjust ภาษีให้ โดยทำการคำนวณจากเงินได้ทั้งปีของพนักงาน และภาษีที่พนักงานถูกหักทั้งปี หากทั้งปีพนักงานถูกหักภาษีมาน้อย ในงวดเดือนที่ 12 โปรแกรมจะหักภาษีเพิ่ม เพื่อที่ให้ครบจำนวนภษีทั้งปีที่จะต้องเสีย

Q : ประกันสังคมไม่คำนวณออกให้ในงวดที่สองของเดือน แก้ไขอย่างไร

A : แนะนำสาเหตุมาจากงวดแรกพนักงานถูกหักไปแล้ว และถูกหักไปมากกว่าทำให้ครึ่งงวดที่สองไม่มีผลออกมา

Q เตรียมดิสก์ส่ง ภ.ง.ด. 91 ข้อมูลพนักงานบางคนไม่แสดงชื่อในดิสก์นำส่ง ภ.ง.ด.91

A หากทำการเตรียมดิสก์ส่ง ภ.ง.ด 91 สามารถทำการตรวจสอบการตั้งค่าประวัติพนักงาน ที่ไม่สามารถเตรียมข้อมูลลงดิสก์ได้

Q : เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ และเลือก ลบประวัติพนักงานที่ลาออกแล้ว แต่มาตรวจสอบพบว่าระบบไม่ได้ลบประวัติพนักงานให้ เกิดจากสาเหตุอะไร

A : สาเหตุเกิดจากเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ เลือกลบประวัติพนักงานที่ลาออกแล้วแต่ไม่ได้ติ๊กลบผลคำนวณของปีเดิม ระบบจึงไม่ล้างประวัติพนักงานที่ลาออกให้ หากต้องการลบประวัติพนักงานหลังจากที่เตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่แล้วลูกค้าต้องทำการเลือกประวัติพนักงานที่ต้องการและลบประวัติพนักงานที่ลาออกเอง

Q : ประกันสังคมก่อนหน้านี้หักนำส่งด้วย Text file ที่ยอด 750 แต่ตรวจสอบใหม่พบว่าเหลือ หักเพียง 300 จะแก้ไขย้อนหลังอย่างไร

A : แนะนำการใช้โปรแกรม BplusSSO ที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยเหลือในการปรับปรุงยอดหักประกันสังคมย้อนหลังในงวดที่ปิดงวดไปแล้ว

Q : กรณีที่จะทำการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ แล้วโปรแกรมแจ้งว่า "โปรดทำการปิดงวดเงินเดือนต่อไปนี้ก่อนการเตรียม้อมูลขึ้นปีใหม่"

A : ตรวจสอบการตั้งงวดเงินเดือนว่า งวดใดที่ยังไม่ได้ทำการปิดงวด เนื่องจากการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่จะต้องทำการปิดงวดเงินเดือนให้ครบทุกงวดก่อน หากมีงวดก่อนหน้าที่ยังไม่ได้ปิดให้ทำการปิดงวดให้เรียบร้อยก่อน

Q : กรณีเรียกรายงานสิ้นปีแล้วพบว่าเงินได้ใน 50 ทวิ ยอดมากกว่า รายงาน ภงด1. แต่ละเดือนรวมกัน สาเหตุเกิดจากอะไร และสามารถตรวจสอบได้ที่ใด

A : ตรวจสอบที่ประวัติพนักงานที่ยอดไม่ถูกต้อง --> ไปที่แถบภาษีเงินได้ --> หัวข้อ เงินได้ก่อนใช้โปรแกรม และภาษีที่ถูกหักก่อนใช้โปรแกรมว่ามียอดที่ระบุเข้าไปหรือไม่ (กรณีนี้อาจจะมาจากไม่ได้ทำการเตรียมข้อมูลขึ้นปีใหม่ของปีก่อน)

Q : ตรวจสอบรายงาน ภงด1ก แล้วพบว่าไม่ตรงกับ ภงด1 แต่ละเดือน โดยภงด1ก มียอดเยอะกว่า แต่เช็คภงด1 แต่ละเดือนยอดตรงทั้งหมดแล้ว จะแก้ไขยังอย่างไร

A : แนะนำให้ตรวจสอบในประวัติพนักงาน ว่ามีการบันทึกยอดยกมาเอาไว้หรือไม่ครับ ถ้ามีและเป็นของปีนี้แสดงว่า ภงด1ก ถูกต้องแล้ว แต่ถ้ามีเป็นของปีก่อนให้ลบในประวัติออก

Q : ต้องการเปลี่ยนเลขลำดับในรายงาน 50 ทวิ สามารถทำได้อย่างไร

A : แนะนำลูกค้าตอนเรียกรายงาน 50 ทวิ -->หลังกดเริ่มพิมพ์ --> จะมีหน้าจอปรับเปลี่ยนข้อความ ให้แก้ไขบรรทัด เลขที่หนังสือรับรองการหักภาษี ใส่เลขลำดับเข้าไปแล้วโปรแกรมจะ Run ต่อให้ แล้วกดบันทึก

การตั้งค่าที่อยู่บริษัท

บันทึกรายละเอียดเกี่ยวกับกิจการคือ ชื่อบริษัท, ที่อยู่, เลขประจําตัวผู้เสียภาษีรวมทั้งเลขทะเบียนพาณิชย์

การตั้งค่าเลขที่ประกันสังคม และ ตั้งค่าเลขที่กองทุน ถ้ามี

ตามประกาศสํานักงานประกันสังคมกระทรวงแรงงาน เจ้าของกิจการจะต้องขึ้นทะเบียนต่อสํานักงานประกันสังคม และ ั หักเงินสมทบเข้ากองทุนประกนสังคมทุกเดือนพร้อมทั้งนําส่งก่อนวันที่ 15ของเดือนถัดไป

การตั้งค่าวิธีการปัดเศษเงินเดือน

ผู้ใช้งานสามารถกาหนดวิธีการปัดเศษเงินเดือน , เบี้ยขยัน, ภาษีเงินได้, เงินสะสมกองทุนสํารองเลี้ยงชีพ, เงินสมทบ ประกันสังคม และเงินได้สุทธิที่พนักงานได้รับได้ทั้งหมด 18วิธีคือ

การตรวจสอบประเภทเงินเพิ่มเงินหัก และการสำเนารายงาน

เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถนําเงื่อนไขวิธีการคิดเงินได้หรือเงินหักที่นอกเหนือจากเงินเดือน มากาหนดให้โปรแกรมคํานวณ เงินได้หรือเงินหักตรงตามเงื่อนไขของกิจการได้อยางถูกต้อง

แนะนำการตั้งงวดเงินเดือน

เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถกำหนดงวดการจ่ายเงินเดือนตามนโยบายของบริษัทได้ซึ่งโปรแกรมมีงวดการจ่ายเงินเดือนให้ เลือก 5 ประเภท คือ จ่ายเดือนละครั้ง,จ่ายเดือนละสองครั้ง,จ่ายเดือนละสามครั้ง,จ่ายสัปดาห์ละครั้ง และงวดพิเศษต่าง ๆ

แนะนำการเพิ่มประวัติพนักงาน

การบันทึกประวัติพนักงาน เป็นการนำรายละเอียดต่างๆ ของพนักงานตั้งแต่ชื่อสกุล, เงินเดือน, ภาษีเงินได้, ประกันสังคม, กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ, เงินค้ำประกัน, เงินกู้, เงินผ่อน, บุคคลค้ำประกัน, คู่สมรส และแฟ้มบุคคล มาบันทึกเพื่อเก็บรายละเอียดในโปรแกรมแทนกระดาษ รวมถึงการนำเงื่อนไขต่างๆ เหล่านี้ ไปคำนวณเงินเดือน, ภาษีเงินได้, ประกันสังคม ฯลฯ อีกด้วย โดยแนะนำให้ท่านบันทึกข้อมูลในแถบที่เป็นสีฟ้า และช่องที่มีเครื่อง * ก่อน เนื่องจากเป็นข้อมูลที่จำเป็นต่อการจ่ายเงินเดือนพนักงาน ส่วนข้อมูลที่เหลือสามารถบันทึกเพิ่มเติมในภายหลังได้

แนะนำการบันทึกปรับเงินเดือน

กรณีที่บริษัทมีการปรับอัตราเงินเดือนพนักงาน เช่น ปรับอัตราค่าจ้างประจำปี หรือกรณีที่พนักงานผ่านทดลองงาน ผู้ใช้งานต้องบันทึกรายการปรับอัตราเงินเดือนของพนักงาน เพื่อให้โปรแกรมคำนวณเงินเดือนพนักงานอย่างถูกต้อง รวมทั้งช่วยเก็บประวัติการปรับอัตราเงินเดือนของพนักงานด้วย

แนะนำการบันทึกพักงาน

กรณีพนักงานทำผิดกฎระเบียบของบริษัท และบริษัทสั่งให้พนักงานพักงาน โดยพนักงานจะไม่ได้รับค่าแรงในระหว่างที่พักงาน ผู้ใช้งานต้องบันทึกพักงานพนักงาน เพื่อให้โปรแกรมคำนวณเงินเดือนโดยตัดเงินเดือนในช่วงวันที่พนักงานพักงานให้โดยอัตโนมัติ

กำหนดชุดข้อสอบ

กำหนดชุดข้อสอบ

VDO - การจัดทำแบบคำนวณค่าจ้างเพื่อประกอบรายงานตามแบบ กท.20ก

การจัดทำแบบคำนวณค่าจ้างเพื่อประกอบรายงานตามแบบ กท.20ก

VDO แนะนำการจ่ายค่าแรง 75% ทั้งเดือนคิดจากฐานเงินเดือนอย่างเดียว

แนะนำกรณีมีการคำนวณเงินเดือนและจ่ายค่าแรง 75% ทั้งเดือนคิดจากฐานเงินเดือนอย่างเดียว

VDO การจ่ายค่าแรง 75% ตามจำนวนวัน

แนะนำการคำนวณเงินเดือนค่าค่าแรง 75% โดยเงื่อนไขจ่ายตามจำนวนวันที่ได้ค่าแรง

VDO แนะนำกรณีจ่ายเงินชดเชย

แนะนำกรณีจ่ายเงินชดเชยให้กับพนักงาน

VDO การตรวจสอบภาษีแบบหัก ณ ที่จ่าย

แนะนำการตรวจสอบภาษีแบบหัก ณ ที่จ่าย

VDO ปรับอัตราประกันสังคม

แนะนำการปรับอัตราประกันสังคม

VDO กรณีรายงาน ภงด1ก ไม่เท่ากับ รายงาน ภงด1 ทุกเดือนรวมกัน

แนะนำกรณีรายงาน ภงด1ก ไม่เท่ากับ รายงาน ภงด1 ทุกเดือนรวมกัน

VDO การ Adjuts ภาษีกรณีเดือนมีนาคมหัก ปกสค 5%

แนะนำกรณี Adjuts ภาษีกรณีเดือนมีนาคมหัก ปกสค 5%

VDO กรณีพนักงานต้องการให้หักภาษีแบบคงที่ทุกๆ เดือน

แนะนำกรณีพนักงานต้องการให้หักภาษีแบบคงที่ทุกๆ เดือน

VDO หลักการคำนวณภาษีเงินได้ในงวดสิ้นปี

แนะนำหลักการคำนวณภาษีเงินได้ในงวดสิ้นปี

คู่มือการใช้งานระบบเงินเดือนสำเร็จรูป

ระบบเงินเดือนค่าแรงพนักงาน :พัฒนาเพื่องานคำนวณเงินเดือนค่าแรง ของพนักงานประจำรายเดือน พนักงานรายวัน พนักงานรายเหมา รองรับเงินเพิ่ม เงินหัก ต่างๆตามกฎระเบียบขององค์กร ยืดหยุ่นเพิ่มเติมได้ งวดการจ่ายรองรับงวคคร่อมเดือน งวดพิเศษจ่ายแยกงวดประจำได้ พร้อมรายงานตรวจสอบรายละเอียดการคำนวณเงินเดือนที่ชัดเจน

คู่มือการใช้งานระบบประมวลผลบันทึกเวลา

เป็นระบบที่เพิ่มความสะดวก สำหรับฝ่ายบุคคลในการตรวจสอบพฤติกรรมเวลาเข้า - ออก และเวลาทำงานของพนักงาน อ่านข้อมูลจากเครื่องบันทึกเวลาได้ทุกรูปแบบและทุกยี่ห้อ หรือการใช้ Bplus Check-IN คำนวณผลอย่างอัตโนมัติทุกเงื่อนไขตามระเบียบของกิจการ สามารถรองรับพนักงานที่มีตารางทำงานหรือกะทำงานคงที่ได้ เช่น พนักงานส่วนสำนักงาน หรือพนักงานที่มีกะทำงานไม่คงที่ หรือมีการสลับกะ ควงกะ ควบกะ

คู่มือการใช้งาน e-Leave 7.6 ฉบับเต็ม

Bplus e-Premium ส่วนบริหารจัดการขอลา(e-Leave) เป็นระบบที่ช่วยให้พนักงานสามารถยื่นเรื่องขอลา, ขอหยุดงานต่างๆ และยื่นเรื่องขอทำโอทีได้โดยไม่ต้องกรอกแบบฟอร์ม ต่างๆ ของบริษัท เพียงแค่บันทึกรายละเอียดการขอหยุดงานหรือขอทำโอทีผ่านเว็บ

คู่มือระบบ Bplus HRM Connect

แอพที่พนักงานทุกคนในองค์กรต้องพกติดตัว ใช้แล้วชีวิตดี๊..ดี CHECK-IN /LEAVE/OT/SHIFT /WELFARE/ PETTY CASH/NEWS/ ANNOUNCE/NOTIFY Bplus HRM Connect ผู้ช่วยมือหนึ่งของฝ่าย HR

คู่มือการใช้งานระบบสิทธิการลาและเบี้ยขยัน

เป็นระบบที่อำนวยความสะดวกในการคำนวณเงินหักโดยอัตโนมัติจากการขาดงาน สาย กลับก่อน ของพนักงานที่เกินสิทธิที่กิจการกำหนด ระบบนี้จะช่วยลดเวลาที่ต้องใช้ไปในการค้นหาประวัติการขาดงาน การลา การมาสายของพนักงานแต่ละคน เพื่อประกอบการคำนวณเงินเดือน เหมาะสำหรับบริษัทที่ต้องการควบคุมสิทธิ์การลาสาย ขาดงานของพนักงานระดับต่างๆ

คู่มือการใช้งาน e-Training

เป็นระบบที่เน้นช่วยงานฝ่ายทรัพยากรบุคคล ในเรื่องการพัฒนาฝึกอบรม บุคลากรเป็นทรัพยากรที่มีค่าของทุกองค์กร การพัฒนาบุคลากรให้สามารถปฏิบัติงานที่รับผิดชอบได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพจึงมีความสำคัญมาก การฝึกอบรมเป็นวิธีหนึ่งในการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณภาพตามที่องค์กรตั้งเป้าหมายไว้

คู่มือการใช้งานระบบ e-Welfare

เพื่อช่วยงานส่วนนี้พนักงานสามารถยื่นเรื่องขอสวัสดิการของตนเองได้ โดยไม่ต้องกรอกแบบฟอร์มต่างๆ ของบริษัท เพียงแค่บันทึกรายละเอียดการขอสวัสดิการต่างๆ เช่น ค่าอุบัติเหตุ, ค่ารักษาพยาบาล, ค่าคลอดบุตร เป็นต้น ซึ่งระบบจะช่วยลดงานของฝ่ายบุคคล และช่วยให้เกิดความคล่องตัวในการปฏิบัติงาน ตั้งแต่การบันทึกขอสวัสดิการ, การอนุมัติรายการ, การตรวจสอบสิทธิสวัสดิการของพนักงานก่อนที่จะอนุมัติเอกสาร ซึ่งจะสามารถรองรับการอนุมัติได้แบบ ONLINE และระบบจะส่งอีเมล์แจ้งผลการขอสวัสดิการให้พนักงานทราบทันทีเมื่อผ่านการอนุมัติครบเรียบร้อยแล้ว

คู่มือโปรแกรม Bplus HRM Dashboard

ระบบอัจฉริยะของหัวหน้าและผู้บริหารในงาน HR ช่วยให้ตรวจสอบข้อมูลสะดวก ทราบแนวโน้มเพื่อแก้ไข ป้องกัน ในงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ

คู่มือการใช้งานระบบ e-Recruit

ระบบสมัครงาน เป็นระบบที่ออกแบบมาช่วยในการคัดสรรพนักงาน โดยสามารถหาพนักงานที่มีคุณภาพสอดคล้องกับการทำงานในแต่ละองค์กร ตั้งแต่การลงทะเบียนสมัครงานของผู้สมัครงาน การคัดสรรหาผู้สมัครงานตามคุณสมบัติ, การบันทึกคะแนนของผู้สมัคร, การสัมภาษณ์ผู้สมัครงาน, การประเมินผลของผู้สมัครงาน, รวมถึงการแจ้งเตือนทางหน้าจอของระบบและทางอีเมล เพื่อลดค่าใช้จ่าย ลดขั้นตอนการทำงานของผู้สัมภาษณ์งานและฝ่ายบุคคล เพิ่มความสะดวกและรวดเร็วของการทำงาน

คู่มือการใช้งาน Bplus Check-in

ระบบ Bplus Check-inเป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการบันทึกเวลา ท้้งในและนอกสำนักงาน โดย ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องสแกนนิ้วมือ พร้อมกับทำการบันทึกขอลาและขอโอทีสามารถใช้งานได้สะดวกและรวดเร็วเพียงทำรายการ บันทึกเวลาผ่าน App บนมือถือ เมื่อพนกังานทำรายการผ่านทางมือถือเรียบร้อยแล้วระบบจะส่งข้อมูลให้ผู้อนุมัติพิจารณาทันทีรวมทั้งสามารถเรียกรายงาน เพื่อตรวจสอบข้อมูลที่พนักงานทำการบันทึกเวลาเข้ามา สามารถตรวจสอบได้ว่าพนกังานทำการบันทึกเวลาอยู่ในระยะที่กำหนดไว้ หรือไม่รวมถึงตรวจสอบการบันทึกขอลาและขอโอที เพื่อให้ตรวจสอบสถานะเอกสารจากระบบได้ทันที นอกจากนี้ยังสามารถตรวจสอบข้อมูลการบันทึกเวลาผ่านหน้าเว็บพร้อมกับ Export ข้อมูลเป็น Excel และ Text File เพื่อ นำไปใช้งานได้ต่ออีกด้วย

คู่มือการใช้งานระบบ E-PaySlip On web

ระบบe-Payslip เป็นโปรแกรมเสริมที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อช่วยงานฝ่ายทรัพยากรบุคคลในการพิมพ์ใบจ่ายเงินเดือนให้พนักงาน ซึ่งเดิมพิมพ์เอกสารในรูปแบบกระดาษหรือซองเงินเดือนปิดผนึก เปลี่ยนเป็นให้โปรแกรมพิมพ์เป็นรูปแบบ Electronic File และส่ง E-Mail ให้พนักงานได้ทันทีโดยพนักงานแต่ละคนจะมีรหัสลับเพื่อความปลอดภัย ในการเปิดเข้าดูข้อมูลเงินเดือน ซึ่งเป็นความลับเฉพาะคน และความลับขององค์กร รวมทั้งยังสามารถส่งเอกสารหรือรายงานอื่นๆ ให้พนักงานทาง E-Mail ได้ทำนองเดียวกับใบจ่ายเงินเดือน นอกจากนั้นพนักงานยังมีช่องทางพิเศษสะดวกในการรับข้อมูลได้อีกคือทาง SMS และทาง Web

คู่มือการใช้งานระบบ Business Plus Auto TM

ระบบเสริมช่วยงาน BUSINESS PLUS Time Attendance (TM) ช่วยงานดึงเวลาทำงานของพนักงานจากเครื่องสแกนนิ้วมือเข้ามาในโปรแกรมเงินเดือนได้แบบ Auto ลดขั้นตอนโดยยี่ห้อของเครื่องสแกนนิ้วมือที่รองรับกับการนำเข้าเวลาได้แบบ Auto

คู่มือการใช้งาน Business Plus อ่านบัตรประชาชน

ID : โปรแกรม Business Plus อ่านบัตรประชาชน Smart Card Reader จะใช้งานร่วมกับเครื่อง Smart Card Reader ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อกับคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งข้อมูลบุคคลจากบัตรประจำตัวประชาชน นำเข้าแฟ้มประวัติพนักงาน เป็นการประหยัดเวลาในการทำงาน เพิ่มความสะดวกรวดเร็ว

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM Version 7.2 Build 2984 รุ่น 6 ภาษา มีผลบังคับใช้ วันที่ 28/12/2564

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM Version 7.2 Build 2984 รุ่น 6 ภาษา มีผลบังคับใช้ วันที่ 28/12/2564

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM v7.2 Build 2986 รุ่น 6 ภาษา มีผลบังคับใช้ วันที่ 19/04/2565

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM v7.2 Build 2986 รุ่น 6 ภาษา มีผลบังคับใช้ วันที่ 19/04/2565

แจ้งประกาศใช้แผ่นโปรแกรมระบบ Business Plus Auto TM เวอร์ชั่น 1.2 รุ่นภาษาไทย ตั้งแต่วันที่ 11/08/2564

แจ้งประกาศใช้แผ่นโปรแกรมระบบ Business Plus Auto TM เวอร์ชั่น 1.2 รุ่นภาษาไทย ตั้งแต่วันที่ 11/08/2564

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM Version 7.3 Build 3010 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 25/10/2565

แจ้งวันบังคับใช้แผ่นโปรแกรมเงินเดือน Bplus HRM Version 7.3 Build 3010 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 25/10/2565

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3010 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 25/10/2565

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3010 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 25/10/2565

คู่มือการใช้งานระบบ Bplus e-Payroll รุ่น Micro (On Web)

ระบบ Bplus e-Payroll รุ่น Micro (On Web) เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อช่วยอำนวยความสะดวกในการคำนวณเงินเดือน ให้กับพนักงาน ผ่านช่องทาง Online ซึ่งมีความสะดวก รวดเร็ว และ แม่นยำ ทำให้สามารถคำนวณเงินเดือนเพื่อจ่ายให้พนักงานได้ทุกที่ทุกเวลา ซึ่งในส่วนของระบบต้องการที่จะให้ตอบโจทย์ลูกค้าที่เป็นธุรกิจขนาดเล็ก โดยมีเงื่อนไขการคำนวณไม่ซับซ้อน ทำเงินเดือนและตรวจสอบผลได้ทันที โดยใช้ระยะเวลาไม่นาน ก็จะสามารถคำนวณเงินเดือนให้กับพนักงานได้ พร้อมกับเรียกรายงานตรวจสอบได้ทันที

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3020 รุ่น 6 ภาษา

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3020 รุ่น 6 ภาษา

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3012 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 08/11/2565

Link Download โปรแกรมเงินเดือนเวอร์ชั่น 7.3 Build 3012 รุ่นภาษาไทย มีผลบังคับใช้ วันที่ 08/11/2565

PR : คู่มือการแก้ไขภาษีเหมางวดสิ้นปี

วิธีการแก้ไขภาษีเหมางวดสิ้นปี

คู่มือการติดตั้งโปรแกรมเงินเดือน v6

คู่มือการติดตั้งโปรแกรมเงินเดือน v6

คู่มือการลงทะเบียนโปรแกรม Program Bplus HRM

คู่มือการลงทะเบียนโปรแกรม Program Bplus HRM

คู่มือการอัพเกรดโปรแกรมเงินเดือน เวอร์ชั่น 7.1 (Firebird)

คู่มือการอัพเกรดโปรแกรมเงินเดือน เวอร์ชั่น 7.1 (Firebird)

คู่มือการอัพเกรดโปรแกรม BplusHrm v7.0

คู่มือการอัพเกรดโปรแกรม BplusHrm v7.0

คู่มือการตั้งค่าการเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้วย FireDacAdmin

คู่มือการตั้งค่าการเชื่อมโยงฐานข้อมูลด้วย FireDacAdmin

คู่มือการสำเนาฐานข้อมูลโดยใช้ Script Firebird.bat

คู่มือการสำเนาฐานข้อมูลโดยใช้ Script Firebird.bat

คู่มือการสำเนาฐานข้อมูลโดยใช้ Script MSSQL.bat

คู่มือการสำเนาฐานข้อมูลโดยใช้ Script MSSQL.bat