-
-
ข่าวสาร
-
HRM
-
ออกจากงาน เราจะยื่นภาษีอย่างไรให้ถูกต้อง
ออกจากงานโดยสมัครใจหรือเกิดเหตุที่คาดไม่ถึง มาดูกันว่าต้องยื่นภาษีอย่างไร
ลาออกโดยสมัครใจ
ประเภทเงินที่ได้รับ
|
อายุงานไม่ถึง 5 ปี
|
อายุงานเกิน 5 ปี
|
เงินเดือนที่ได้รับระหว่างปี
|
ยื่นในแบบแสดงรายการ
ถือเป็นเงินได้ 40 (1)
|
ยื่นในแบบแสดงรายการ
ถือเป็นเงินได้ 40(1)
|
เงินชดเชยที่ได้รับตามอายุงาน
|
คำนวณในแบบแสดงรายการ
รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
คำนวณในใบแนบเหตุออกจากงาน
|
เงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อายุไม่ถึง 55 ปี
|
คำนวณในแบบแสดงรายการ
รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
คำนวณในใบแนบเหตุออกจากงาน
|
เงินที่ได้รับจากการกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อายุตั้งแต่ 55 ปีเป็นต้นไป
|
คำนวณในใบแนบแสดงรายการ รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณ หากมีอายุในกองทุนเกินกว่า 5 ปี
|
ถูกบังให้ออกหรือให้ออกโดยลูกจ้างไม่สมัครใจ
ประเภทเงินที่ได้รับ
|
อายุงานไม่ถึง 5 ปี
|
อายุงานเกิน 5 ปี
|
เงินเดือนที่ได้รับระหว่างปี
|
ยื่นในแบบแสดงรายการ
ถือเป็นเงินได้ 40(1)
|
ยื่นในแบบแสดงรายการ
ถือเป็นเงินได้ 40(1)
|
เงินชดเชยที่ได้รับตามอายุงาน
ตามกฎหมายแรงงาน
|
คำนวณในแบบแสดงรายการ
รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
คำนวณใน
ใบแนบเหตุออกจากงาน
|
เงินชดเชยที่ได้รับ
ตามพรบ.คุ้มครองแรงาน
|
ได้รับยกเว้น 300 วันสุดท้าย
แต่ไม่เกิน 300,000 บาท
|
ได้รับยกเว้น 300 วันสุดท้าย
แต่ไม่เกิน 300,000 บาท
|
เงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อายุไม่ถึง 55 ปี
|
คำนวณในแบบแสดงรายการ
รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
คำนวณในใบแนบเหตุออกจากงาน
|
เงินที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ อายุตั้งแต่ 55 ปีเป็นต้นไป
|
คำนวณในแบบแสดงรายการ
รวมกับเงินเดือน 40(1)
|
ได้รับยกเว้นไม่ต้องนำมาคำนวณหากมีอายุในกองทุนเกินกว่า 5 ปี
|
เอกสารที่ใช้ประกอบในการยื่นแบบกรณีออกจากงาน
- หนังสือรับรองหัก ณ ที่จ่าย 50 ทวิ
- เอกสารรับรองอายุการทำงาน
- เอกสารรับรองเงินเดือน ย้อนหลัง 12 เดือนสุดท้ายก่อนออกจากงาน
ลาออกหรือถอนเงินจากกองทุน (ไม่ได้ลาออกจากงาน)
นำเงินได้เฉพาะส่วนผลประโยชน์ของตนเอง ส่วนของนายจ้าง และผลประโยชน์ของนายจ้าง ยื่นรวมกับเงินที่ได้รับ ยื่นในแบบแสดงรายการ ตามมาตรา 40(1) เงินเดือน ค่าจ้างแรงงานและไม่มีสิทธิคำนวณเงินได้ในใบแนบเงินได้เหตุออกจากงาน
ที่มา เพจ กรมสรรพากร : The Revenue Department
29 April 2021
View
12,562