ภาษีซื้อต้องห้าม

ภาษีซื้อต้องห้าม คือ ภาษีซื้อที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนVAT ไม่สามารถนำมาหักออก จากภาษีขายในการคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มหรือนำมาขอคืนภาษีซื้อ [creditภาษีซื้อ] ซึ่งกฎหมายได้กำหนดลักษณะของภาษีซื้อต้องห้าม ไว้ในมาตรา 82/5 แห่งประมวลรัษฎากร สรุปได้ดังนี้

  1. ไม่มีใบกำกับภาษี หรือทำหาย
  2. กรณีใบกำกับภาษีมีข้อความไม่ถูกต้องหรือไม่สมบูรณ์ที่สรรพากรกำหนด
  3. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องกับกิจการ
  4. ภาษีซื้อที่เกิดจากรายจ่ายเพื่อการรับรอง
  5. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี
  6. อื่นๆ ภาษีซื้อตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากรเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม (ฉบับที่ 42)
ประเด็น

ห้ามขอคืนและห้ามเป็นค่าใช้จ่าย

❌❌

ห้ามขอคืนแต่เป็นค่าใช้จ่ายได้

ขอคินได้/เครดิตได้

✔✔

1.ใบกำกับภาษี

1.1 ได้รับใบกำกับภาษีในเดือนภาษีอื่น แต่ไม่เกิน 6 เดือน ถัดจากเดือนที่ออกใบกำกับภาษี

   

1.2 ใบกำกับภาษีที่พิสูจน์ได้ว่าได้ชำระภาษีมูลค่าเพิ่มแล้ว

   

1.3 ใบเสร็จรับเงินศุลกากรระบุเดือนมกราคมได้รับในเดือนกุมภาพันธ์

   

1.4 ใบกำกับภาษีเป็นชื่อบริษัทแต่ค่าใช้จ่ายในใบกำกับได้รวมของบริษัทในเครือ

   

1.5 ใบกำกับภาษี ไม่มีคำว่า "มหาชน"

   

1.6 บริษัทเปลี่ยนชื่อใหม่ แต่ได้รับใบกำกับภาษี เป็นชื่อเดิม

   

1.7 ใบกำกับภาษีค่าไฟฟ้า น้ำประปาเป็นชื่อของผู้ให้เช่า แต่ผู้เช่าเป็นผู้จ่าย

   

1.8 ใบกำกับภาษีใช้อักษรย่อ "Ltd."

   

1.9 ใบกำกับภาษีมีรายการมากกว่ากฎหมายกำหนด

   

1.10 คำว่า"ใบกำกับภาษี"ไม่ได้ตีพิมพ์ หรือไม่ได้จัดทำด้วย ระบบคอมพิวเตอร์

   

1.11 ใบกำกับภาษีเป็นเอกสาร ฉบับแรก แต่มีคำว่า "เอกสารออกเป็นชุด"

   

1.12 ใบกำกับภาษีระบุสถานที่ก่อสร้าง

   

1.13 ใบกำกับภาษีแก้ไขรายการราคาต่อหน่วย

   

1.14 ใบกำกับภาษีระบุชื่อผู้ซื้อว่า "สด"

   

1.15 ใบกำกับภาษีไม่ระบุ คำว่า "แขวง"

   

1.16 ใบกำกับภาษีระบุที่อยู่ผู้ซื้อ ไม่ถูกต้องจากเลขที่ 33/48 เป็น 33/45

   

1.17 ใบกำกับภาษีระบุชื่อผู้ซื้อว่า "ประเทศไทย"แต่ไประบุว่า"Thailand"

   

1.18 พิมพ์แก้ไขเลขที่รหัสสาขา

   

1.19 ใบกำกับภาษีตีพิมพ์จากโรงพิมพ์กรอกด้วยคอมพิวเตอร์แต่วันที่เขียนด้วยหมึก

   

1:20 ไม่มีคำว่าภาษีมูลค่าเพิ่มกี่เปอร์เซ็นต์และ ไม่มีลายเซ็นต์ผู้มอบอำนาจ

   

1.21 ใบกำกับภาษีที่ได้รับไม่เกิน 6 เดือนนับแต่เดือนถัดจากเดือนที่ ออกใบกำกับภาษี

   

1.22 ใบกำกับภาษีไม่ระบุ "เลขประจำตัวผู้เสียภาษี"

   
2.สวัสดิการพนักงาน

2.1 เครื่องแบบพนักงาน

   

2.2 จัดให้มีอาหารเครื่องดื่มฟรี

   

2.3 เลี้ยงปีใหม่พนักงานประจำปี

   

2.4 ให้รางวัลแก่ลูกจ้างดีเด่น

   

2.5 ค่าสมาชิกกอล์ฟ ของนิติบุคคล แต่ผู้บริหารนำไปเล่น

   

2.6 บริษัทจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยรถยนต์ให้กับรถยนต์พนักงาน

   

2.7 พนักงานป่วยบริษัทซื้อกระเช้าไปเยี่ยมพนักงาน

   
2.8 ซื้อของขวัญให้แก่พนักงาน    
3.ส่งเสริมการขาย

3.1 ค่าใช้จ่ายในการสาริตสินค้า เช่น ค่าเดินทาง ค่าที่พัก ค่าอาหาร

   

3.2 ซื้อกระเช้าของขวัญปีใหม่ให้ลูกค้า

   

3.3 ได้รับเงินสนับสนุนสินค้าที่ซื้อมาจากบริษัทในเครือนำไปจ่าค่าใช้จ่ายต่างๆ

   

3.4 นำสินค้ามาแลก หรือ แจกลูกค้า

   

3.5 แจกตั๋วเครื่องบินให้ลูกค้าที่ขายตามเป้า

   

3.6 นำรถยนต์นั่งมาเป็นรถยนต์สาธิต

   

3.7 ซื้อสินค้ามาแถมให้กับลูกค้า

   

3.8 ค่าใช้จ่ายในการจัดประกวด ปรุงอาหาร

   
4.รถยนต์ที่นั่ง

4.1 ประกอบกิจการให้เช่ารถยนต์นั่ง ภาษีซื้อที่เกิดจากรถยนต์นั่ง

   

4.2 ซื้อรถยนต์กระบะ

   

4.3 ค่าน้ำมันรถกระบะ

   

4.4 ค่าทางด่วน/บัตรทางด่วนของรถยนต์นั่ง

   

4.5 ค่าเช่ารถตู้ที่มีที่นั่งเกิน 10 คน

   

4.6 ค่าเช่ารถยนต์กระบะและสแปชแคป

   
4.7 ค่าบัตรทางด่วน (expressway)    
5.ค่าใช้จ่ายดำเนินงานและค่าใช้จ่ายอื่น

5.1 ค่าติดตั้งระบบงานสารารณูปโภค ซึ่งเป็นต้นทุนทางตรงของงานบริการ

   

5.2 ค่าที่พัก อาหาร ของพนักงานที่บริษัทมอบหมายให้ไปปฏิบัติงานต่างจังหวัด

   

5.3 ให้เช่าเฟอร์นิเจอร์ โคมไฟ หลอดไฟเครื่องโทรศัพท์ เครื่องปรับอากาศลิฟต์ ทีวี ตู้เย็น เตียงนอน ไฟฟ้า ฯลฯ

   

5.4 ค่าก่อสร้างอาคารให้เช่า

   

5.5 ค่าก่อสร้างอาคาร แล้วยกให้แก่ผู้ให้เช่าที่ดิน

   

5.6 การให้บริการเช่าเครื่องบินเหมาลำ

   

5.7 เงินทดรองจ่ายแทนบริษัทในเครือ

   

5.8 ค่าธรรมเนียมการจำหน่ายหุ้น และค่าใช้จ่ายในการระดมทุน

   

5.9 ภาษีซื้อที่เกิดจากการก่อสร้าง สถานีบริการน้ำมัน

   

5.10 ค่าก่อสร้างระบบบริการส่วนกลาง เช่นระบบไฟฟ้า ระบบรักษาความ-ปลอดภัย ระบบสุขาภิบาล ระบบปรับอากาศ

   

5.11 ค่าก่อสร้างสนามกอล์ฟและอาคาร

   

5.12 ค่าซื้อเนกไท ไวน์ เป็นค่าตอยแทนวิทยากร

   

5.13 ค่าก่อสร้างอาคารจอดรถ แบบกำหนดที่และไม่ต้องเสียค่าเช่าที่จอดรถจัดให้รถจอดบนอาคารที่เช่า

   

5.14 ติดตั้งลิฟตีเพื่อใช้กับกิจการ ให้เช่าอพาร์ตเม้นต์ใช้ในกิจการยกเว้นภาษี-มูลค่าเพิ่ม

   
6.การนำเข้าและส่งออก

6.1 ภาษีซื้อจากการนำเข้าเครื่องจักรเมื่อผ่านพิธีการศุลกากร

   

6.2 ภาษีซื้อจากการซื้อสินค้า เพื่อการส่งออก

   

6.3 บริษัทในต่างประเทศได้ซื้อเครื่องจักรและได้นำเข้ามาให้บริษัทในไทยใช้ เมื่อจบโครงการจะต้องส่งเครื่องจักรคืน ภาษีซื้อ จากการนำเข้าเครื่องจักร

   

6.4 ใบเสร็จรับเงินศุลกากรระบุชื่อ เป็นผู้จ่ายเงินแต่ไม่ได้เป็นผู้นำเข้าเครื่องจักรมาใข้ในกิจการของตนเอง

   

ที่มา เพจ 101 BuncheeTax