หลักเกณฑ์การจัดระดับเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดี และผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน
- หลักเกณฑ์
- คุณสมบัติ
- เงื่อนไข
- สิทธิประโยชน์
- การยื่นคำขอ
คุณสมบัติ
ผู้ประกอบการส่งออกที่ดี
- เป็นบริษัทจำกัด หรือนริษัทมหาชนจำกัดที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
- มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วตั้งแต่ 10 ล้านบาท ขึ้นไป ยกเว้น ผู้ประกอบการที่เป็นผู้ส่งของออกระดับมาตรฐานเออีโอ (AEO) ของกรมศุลภากร
- มีการประกอบกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 รอบระยะเวลาบัญชี สำหรับระยะเวลา 12 เดือนก่อนยื่นคำขอ ตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นโปต่อยอดขายร่วม และส่งสินค้าไปขาย ยังต่างประเ เทศ ในอัตราส่วนหรือร้อยละ 50 ขึ้นไป กรณีเป็นผู้ส่งของออกระดับมาตรฐาน AEOของกรมศุลกาทร
- มีทรัพย์สินสุทธิมากกว่าหนี้สินสุทธิสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีสุดท้ายก่อนยื่นคำขอ
- มีความมั่นคง ความต่อเนื่อง ความน่าเชื่อถือในการประกอบกิจการ และมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์เช่น ที่ดิน อาคาร โรงงาน
- มีประวัติการเสียภาษีที่ดี มีการเสียภาษีสอดคล้องกับสภาพเป็นจริงของกิจการ และไม่มีพฤติการณ์หลีกเสี่ยงภาษี
- เป็นสมาชิกของสมาคม หรือองค์กรกาคเอกขน (ในทางการค้า) เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย หอการค้าจังหวัด หรือเป็นผู้ประกอบการที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมและหน่วยงานดังกล่าวรับรองว่ามีการประกอบกิจการอยู่เป็นปกติ ไม่มีข่าวสารที่แสดงถึงการขาดความน่าเชื่อถือทางการเงิน และมีหนี้สินล้นพ้นตัวแต่อย่างไต
ผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน
- เป็นบริษัทจำกัด หรือบริษักมหาชนจำกัด หรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล หรือบุคคลธรรมดาที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม
- มีการประกอบกิจการมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 รอบระยะเวลาบัญชีต่อปีภาษี และส่งสินค้าไปขายต่างประเทศในอัตราส่วนต่อยอดขายรวม สำหรับระยะเวลา 12 เตือนท่อนยื่นคำขอตั้งแต่ร้อยละ 50 ขึ้นไป
- มีทรัพย์สินสุทธิมากกว่าหนี้สินสุทธิ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี/ปีภาษีสุดท้ายก่อนยื่นคำขอ
- มีความมั่นคง ความต่อเนื่อง ความน่าเชื่อถือในการประกอบกิจการ และมีกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์เช่น ที่ดิน อาคาร โรงงาน
- มีประวัติการเสียภาษีที่ดี มีการเสียภาษีสอดคล้องกับสภาพเป็นจริงของกิจการ และไม่มีพฤติการณ์หลีกเสี่ยงภาษี
- เป็นสมาชิกของสมาคม หรือองค์กรกาคเอกขน (ในทางการค้า) เช่น สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย หอการค้าไทย หอการค้าจังหวัด หรือเป็นผู้ประกอบการที่อยู่ในนิคมอุตสาหกรรมและหน่วยงานดังกล่าวรับรองว่ามีการประกอบกิจการอยู่เป็นปกติ ไม่มีข่าวสารที่แสดงถึงการขาดความน่าเชื่อถือทางการเงิน และมีหนี้สินล้นพ้นตัวแต่อย่างไต
เงื่อนไขที่ผู้ประกอบการส่งออกที่ดีและผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียนต้องปฏิบัติตาม
1. ขอคืนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยการนำเข้า บัญชีเงินฝากรนาคาร
2. มีสถานประกอบการหลายแห่ง ต้องได้รับอนุมัติให้ยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษีมูลค่าเพิ่มรวมกัน
3. ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือผู้สอบบัญชีภาษีอากรที่รับรองงบการเงินสำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่ยื่นคำขอต้องได้รับการแต่งตั้งจากมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นและต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ เงื่อนไขตามมาตรา 3 สัตต แห่งประมวรัษฎากรโดยให้แจ้ง
- ชื่อ เลขทะเบียนของผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือ
- ผู้สอบบัญชีภาษีอากร พร้อมทั้งชื่อสำนักงานผู้สอบบัญชีและแจ้งชื่อผู้ทำบัญชี พร้อมทั้งชื่อสำนักงานบัญชีด้วย
สิทธิประโยชน์ผู้ประกอบการส่งออกที่ดีและผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน
1.ได้รับคืนภาษีมูลค่าเพิ่มโดยเร็ว
ประเภทผู้ประกอบการ |
ยื่นแบบ ภ.พ.30
ผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
|
ยื่นแบบ ภ.พ.30
ณ สำนักงานสรรพากรพท้นที่สาขา
|
ผู้ประกอบการส่งออกที่ดี |
คืนภายใน 15 วัน
นับแต่วันที่ยื่นแบบ ภ.พ.30
|
คืนภายใน 45 วัน
นับแต่วันที่ยื่นแบบ ภ.พ.30
|
ผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน |
คืนภายใน 30 วัน
นับแต่วันที่ยื่นแบบ ภ.พ.30
|
คืนภายใน 60 วัน
นับแต่วันที่ยื่นแบบ ภ.พ.30
|
2.ต้องเป็นแบบ ภ.พ.30 ของเดือนภาษีที่ได้รับสิทธิประโยชน์และยื่นแบบ ภ.พ.30 ภายในกำหนดเวลา
3.สิทธิดังกล่าวมีกำหนดระยะเวลา 2 ปี นับแต่เดือนภาษีที่ได้รับอนุมัติการต่อสิทธิต้องดำเนินการก่อนระยะเวลา 4 เดือน ที่สิทธิประโยชน์จะสิ้นสุดลง โดยไม่ต้องแนบเอกสาร
การยื่นคำขอ ให้จัดระดับเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดีหรือผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน (สอ.1)
ยื่นคำขอด้วยกระดาษ
- ส่วนบริหารงานทั่วไป กองบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ (กรณีผู้ประกอบการส่งออกอยู่ภายใต้การบริหารจัดเก็บภาษีอากรของกองบริหารภาษีธุรภิจขนาดใหญ่)
- ส่วนบริหารงานทั่วไปสำนักงานสรรพากรพื้นที่(เป็นที่ตั้งของสถานประกอบการที่มีหน้าที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม)
ยื่นคำขอผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
- ยื่นผ่าน "ระบบคำขอให้จัดระดับเป็นผู้ประกอบการส่งออกที่ดีหรือผู้ประกอบการส่งออกขึ้นทะเบียน"บนเว็บไซต์ของกรมสรรพากร www.rd.go.th ผู้ประกอบการสามารถ Upload File เอกสารหลักฐานเพื่อประกอบการพิจารณาคำขอ
ที่มา เพจ SME Today