ซับคอนแทรก ถูกส่งตัวลูกจ้างกลับ ไม่ถือเป็นการเลิกจ้าง

 

ซับคอนแทรก ถูกส่งตัวลูกจ้างกลับ ไม่ถือเป็นการเลิกจ้าง

กรณีนายจ้างที่ใช้ซับคอนแทรกส่งตัวลูกจ้างกลับ โดยที่ ไม่ต้องลดค่าจ้าง ไม่ต้องหยุดกิจการชั่วคราว ฯ

ในมุมลูกจ้างที่ถูกส่งตัวกลับ กฎหมายคุ้มครองดังนี้
- กรณีลูกจ้างซับคอนแทรก ถูกส่งตัวไปทำงานกับสถานประกอบกิจการอื่น มีผลทำให้มีนายจ้าง ๒ คน คือ
1) นายจ้างเดิม
2) นายจ้างที่ถูกส่งไปทำงานด้วย
ดังนั้น ระหว่างการทำงานต้องได้รับการปฎิบัติเหมือนลูกจ้างของสถานประกอบกิจการที่ตนไปทำงานด้วย ทั้งเรื่องสิทธิต่างๆ และสวัสดิการ
- ถ้าค้างจ่ายค่าตอบแทนต่างๆ ต้องร้องเรียน หรือฟ้องนายจ้างสองคน
- การส่งตัวกลับมายังนายจ้างเดิมไม่ใช่เลิกจ้าง(ของนายจ้างที่ลูกจ้างไปทำงานด้วย)
- เมื่อส่งตัวกลับมาแล้ว เท่ากับว่าเหลือนายจ้างคนเดียวที่เป็นนายจ้างจริงๆ นายจ้างคนนี้จะต้องจ่ายค่าจ้างแก่ลูกจ้าง จะอ้างว่าไม่มีงานให้ทำไม่ได้ เว้นแต่จะใช้มาตรการชะลอการจ้าง หรือหยุดกิจการชั่วคราว

 

ที่มา เพจกฎหมายแรงงาน

 

เนื้อหาอื่นที่น่าสนใจ

6 สาเหตุถูกเลิกจ้าง หมดสิทธิรับค่าชดเชย และเงินทดแทนกรณีว่างงาน

ด่าลูกค้าด้วยคำหยาบคาย แม้ลูกค้า”ไม่ได้ยิน” ก็เลิกจ้างได้ โดยไม่ต้องจ่ายค่าชดเชย

ผู้รับมอบกระทำแทนนายจ้าง สั่งให้พนักงานออกจากงาน นายแจ้งต้องจ่ายค่าชดเชยการเลิกจ้างไหม

ลาป่วยบ่อย ถือว่าสุขภาพไม่สมบูรณ์และหย่อนสมรรถภาพในการทำงาน เลิกจ้างได้ และเป็นการเลิกจ้างที่เป็นธรรม

ลูกจ้างประสบอุบัติเหตุ ลาป่วยเกิน 30 วัน เลิกจ้างได้หรือไม่?

หนังสือเตือน ผิดซ้ำเลิกจ้างได้ทันทีหรือต้องบอกอีกสักทีก่อนเลิกจ้าง

เตือนด้วยวาจา ไม่ถือเป็นการเตือน ตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน เลิกจ้างต้องจ่ายค่าชดเชย

เบิกค่าน้ำมันไม่ตรงกับ GPS เป็นการทุจริต เลิกจ้างได้

เมื่อลูกจ้างได้เก็บเงินค่าสินค้าจากลูกค้าแต่กลับไม่ยอมส่งเงินที่ได้รับนั้นให้แก่นายจ้างตามระเบียบทันที จนเป็นเหตุให้ถูกเลิกจ้าง ลูกจ้างสมควรถูกเลิกจ้างหรือไม่

เลิกจ้าง นายจ้างสามารถหักภาษีและประกันสังคมได้หรือไม่

เลิกจ้างเพราะขาดมนุษยสัมพันธ์ เข้ากับเพื่อนร่วมงานไม่ได้ ไม่ใช่เลิกจ้างไม่เป็นธรรม

เลิกจ้างเพราะทำทรัพย์สินที่สำคัญของบริษัทเสียหาย ?

เลิกจ้างเพราะเหตุมีครรภ์ สามารถทำได้ หรือไม่

“นายจ้างเรียกให้ลูกจ้างเข้าร่วมประชุมหลายต่อหลายครั้ง แต่ลูกจ้างปฏิเสธโดยอ้างว่ามีธุระและมีอุปสรรคในการเข้าไปทำงาน นายจ้างจึงเลิกจ้าง เพราะละทิ้งหน้าที่” สิ่งที่นายจ้างทำ เหมาะสมหรือไม่?